Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริการยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
การบริการยากินและยาเฉพาะที่
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ เช่น ฉีดวัคซีนบีซีจีเพื่อป้องกันวัณโรค ให้วิตามินเพื่อบำรุงร่างกายให้แข็งแรง
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
เพื่อการรักษา เป็นการให้ยาเพื่อรักษาตามสาเหตุของโรค หรือช่วยให้ผู้ป่วยบรรเทา ทุเลา และ หายจากอาการหรือโรคที่เป็นอยู่
รักษาเฉพาะโรค
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
รักษาตามอาการ
ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
ภาวะสุขภาพ
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหรือมีอาการป่วย เมื่อได้รับยาจะมีผลต่อการแสดงออกของฤทธิ์ยาต่างจากคนปกติ
ทางที่ให้ยา
ยาที่ให้ทางหลอดเลือดจะดูดซึมได้เร็วกว่ายาที่ให้รับประทานทางปาก
ภาวะจิตใจ
เวลาที่ให้ยา
ยาบางชนิดต้องให้เวลาที่ถูกต้องยาจึงออกฤทธิ์ตามที่ต้องการ เช่น ยาปฏิชีวนะบางชนิดต้องให้ก่อนอาหาร จึงจะดูดซึมได้ดี
กรรมพันธุ์
บางคนอาจมีความไวผิดปกติต่อยาบางชนิด บางคนแพ้ยาง่าย ซึ่งอาจเกิดจากพันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
ยาที่รักษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางชนิด ต้องให้ผู้ป่วยอยู่ในที่สงบ เพื่อจะได้พักผ่อน ดังนั้นพยาบาลจึงต้องประเมินสภาพผู้ป่วย โดยคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ข้างต้น ในการให้ยาแก่ผู้ป่วย แต่ละราย เนื่องจากมีผลกระทบต่อการออกฤทธิ์ของยา
เพศ
ผู้ชายมีขนาดตัวใหญ่กว่าผู้หญิง น้ำหนักย่อมมากกว่า ถ้าได้รับยาขนาดเท่ากัน ยาจะมี ปฏิกิริยาต่อผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
อายุและน้ำหนักตัว
เด็กเล็ก ๆ ตับและไตยังเจริญไม่เต็มที่ ผู้สูงอายุมาก ๆ การทำงานของตับ และไตลดลง จึงทำให้ยามีปฏิกิริยามากขึ้น ขนาดของยาที่ให้จึงต้องน้อยกว่าคนปกติ
ระบบการตวงวัดยา
ระบบเมตริก
ถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน
มีหน่วยที่ใช้เป็น หยด ซ้อนซา ซ้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว
ระบบอโพที่คารี
ถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
คำสั่งแพทย์ในการรักษาส่วนใหญ่ใช้เป็นคำย่อและสัญลักษณ์ พยาบาลจึงจำเป็นต้องทราบความหมาย
คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
คำสั่งแพทย์
คำสั่งใช้ภายในวันเดียว (Single order of order for one day)
คำสั่งที่ต้องให้ทันที (Stat order)
คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป (Standing order / order for Continuous)
คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น (prn order)
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
4) ขนาดของยา
5) วิถีทางการให้ยา
3) ชื่อของยา
6) เวลาและความถี่ในการให้ยา
2) วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
7) ลายมือผู้สั่งยา
1) ชื่อของผู้ป่วย
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
แพทย์จะเขียนคำสั่งการให้ยาเป็น รูปแบบเดียวกัน คือ ชื่อยา - ขนาด - จำนวน – ทางที่ให้ - ความถี่
วิถีทางการให้ยา (route)
ทางหลอดเลือดดำ (intravenous)
เข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดโดยตรง
ชนิดของการปรุงยา
ยาที่ละลายในน้ำ (Aqueous solution) เท่านั้น
ทางใต้ผิวหนัง (Subcutaneous / hypodermal)
ดูดซึมเข้าระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นใต้ผิวหนัง
ชนิดของการปรุงยา
สารละลาย (Aqueous solution) เท่านั้น
ทางสูดดม (inhalation
ดูดซึมทางระบบทางเดินหายใจ
ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะต่างๆ กัน
ชนิดสเปรย์ (spray)
พ่นทางสายให้ออกซิเจน (nebulae)
ทางชั้นผิวหนัง (intradermat)
โดยดูดซึมเข้าร่างกายทางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นผิวหนัง
ชนิดของการปรุงยา
ยาที่ละลายในน้ำ (aqueous solution) เท่านั้น
ทางเยื่อบุ (mucous)
ยาที่ใช้สอดใส่หรือหยอดทางอวัยวะต่างๆ ของผู้ป่วย
ดูดซึมเข้าทางเยื่อบุสู่ระบบไหลเวียนของเลือดบริเวณอวัยวะนั้น
ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะต่างๆ กัน
ชนิดเม็ด (tablet)
ใช้สอด (suppository)
ทางช่องคลอด/ทวารหนัก หรืออมใต้ลิ้น (subtingual)
ยาที่ ละลายในน้ำ (aqueous solution)
ใช้หยอด (instillate)
ใช้ล้าง (irrigate)
ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular)
ดูดซึมเข้าร่างกายทางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นกล้ามเนื้อ
ชนิดของการปรุงยา
ยาที่ละลายในน้ำ (aqueous solution) เท่านั้น
ทางผิวหนัง (Skin
ดูดซึมเข้าร่างกายทางผิวหนัง
ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะต่างๆ
ชนิดโลชั่น (Lotion)
ครีม (Cream)
ยาขี้ผึ้ง (ointment)
ยาเปียก (paste) หรือยาถูนวด (inunction)
ยาผงใช้โรย (powder)
ทางปาก (oral)
ยาจะดูดซึมทางระบบทางเดินอาหารและลำไส้
ชนิดของการปรุงยามีลักษณะต่างๆ กัน
ยาเม็ด (tablet)
ยาแคปซูล (capsule)
ยาน้ำเชื่อม (Syrup)
อีลิกเซอร์ (elixir)
อีมัลชั่น (emulsion)
ยาผง (powder)
ยาน้ำผสม (mixture)
คำนวณขนาดยา
การคำนวณยาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา
มีหลักการคำนวณดังนี้
ความเข้มข้นของยา (ในแต่ละส่วน)
ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี
ปริมาณยาที่มี
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาในครั้งแรก พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์ พร้อมกับเช็คยาและจำนวนให้ตรงตามฉลากยา หากไม่ตรงให้แจ้งเจ้าหน้าที่ทันที
การซักประวัติ จะถามเรื่องการแพ้ยาทุกครั้งดูสติกเกอร์สีแสดงแพ้ยาที่ติดอยู่ขอบ OPD card และดูรายละเอียดใน OPD card ร่วมด้วยทุกครั้ง และพยาบาล ติดสติกเกอร์สีบนชาร์ตผู้ป่วย และปั้มตรายางทุกหน้าคำสั่งของแพทย์ และก่อนฉีดยาจะถามอีกครั้งว่ามีประวัติแพ้ยาหรือไม่
เมื่อมีคำสั่งใหม่ หัวหน้าเวร ลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
ยาที่เป็นเศษส่วน และมากกว่าหนึ่ง มักจัดผิดให้วงกลมด้วยปากกาแดงให้เป็นที่สังเกต
ยาก่อนนอนทำเครื่องหมายดอกจันทร์ในใบ MAR เพื่อเป็นที่สังเกตในการจัดยา
ยาที่แพทย์สั่งในห้องยาไม่มีปริมาณ mg ตามสั่ง
การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยาเนื่องจากความผิดพลาดด้านบุคคลโดยเฉพาะยาน้ำ
เวรบ่าย พยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบ MAR กับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกัน และดูยาในช่องลิ้นชักยาอีกครั้ง
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้าย NPO และเขียนระบุว่า NPO เพื่อผ่าตัดหรือเจาะเลือดเช้า ให้อธิบายและแนะนำผู้ป่วยและญาติทุกครั้ง
กรณีคำสั่งสารน้ำ+ยา B co 2 ml ให้เขียนคำว่า +ยา B co 2 ml ด้วยปากกาเมจิก อักษรตัวใหญ่บนป้ายสติกเกอร์ของสารน้ำให้ชัดเจนเพื่อสังเกตได้ง่าย
การจัดยาจะจัดตามหน้าซองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้องแล้ว ในการจัดยาที่เป็นคำสั่งใหม่ ผู้จัดจะดูวันที่ที่สั่งยาใหม่หน้าซองยาในการเริ่มยาใหม่ในครั้งแรก พร้อมตรวจดูยากับใบ MAR อีกครั้งว่ามีตรงกันหรือไม่ กรณีพบปัญหาไม่ตรงกัน จะไปดูคำสั่งแพทย์อีกครั้ง
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบก่อนให้ยา ให้ตรวจสอบ 100% เช็คดูตามใบMAR ทุกครั้ง
การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยาและให้พยาบาเลตรวจดูยาในลิ้นชักของผู้ป่วยทุกเตียงจนเป็นนิสัยและดูผู้ป่วยประจำเตียงว่ามีหรือไม่ และตามผู้ป่วยมารับยาให้กินยาเลยและสอบถามคู่เวรว่าแจกยาหมดหรือยังให้เป็นนิสัย การแจกยาผู้ป่วยที่มีปัญหา
ให้ยึดหลัก 6R ตามที่กล่าวมาข้างต้น
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Competencies of nurses for Rational Drug Use)
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
การให้ยาทางปาก
ชนิดยา
ยาเม็ด
ยาแคปซูล
ยาผง หรือยาน้ำ
ข้อควรปฏิบัติในการให้ยาทางปาก
ยาที่ระคายเคืองทางเดินอาหารให้กินหลังอาหารหรือนม (ยกเว้นยาพวก Tetracycline ไม่ควรให้ผู้ป่วยรับประทานพร้อมนม)
การให้ยาเม็ดในเวลาเดียวกัน สามารถรวมกันได้ ส่วนยาน้ำให้แยกใส่แก้วยาต่างหาก
ยาชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
ยาจิบแก้ไอควรให้ภายหลังรับประทานยาเม็ดแล้วเพื่อให้ยาค้างอยู่ที่คอไม่ถูกน้ำล้างออก
ยาลดกรดในกระเพาะอาหารควรให้อันดับสุดท้ายเพื่อช่วยลดอาการระคายเคืองและเคลือบผนังของหลอดอาหารและกระเพาะ
ยาอมใต้ ควรให้หลังจากรับประทานยาทุกชนิดแล้ว แนะนำให้ห้ามกลืนหรือเคี้ยวยา รอจนกว่ายาละลายหรือดูดซึมเข้าใต้ลิ้นเอง
อุปกรณ์ในการให้ยาทางปาก
1) ถ้วยยา หรือ Syringe
2) น้ำเปล่า หรือ น้ำส้ม หรือน้ำหวานแทนน้ำ (หากไม่มีข้อห้าม)
3) ถาดหรือรถใส่ยา
4) แบบบันทึกการให้ยา
การพยาบาลเพื่อให้ยาได้ถูกหลักการ
1) ดูเบอร์เตียง ชื่อ นามสกุล ผู้ป่วยใน MAR ให้ตรงกัน
2) ดูชื่อยา ขนาดยา เวลาที่ให้ใน MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย
3) เตรียมยาให้ตรงกับ MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย
4) อ่านฉลากยาให้ตรงกับ MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย ดูวันที่หมดอายุของยา
5) เทยา หรือรินยาให้ได้ตรงตามจำนวนกับขนาดของยาใน MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย
การเตรียมยาตามขั้นตอน
1) ยาชนิด Unit dose (ยาที่จัดมาเป็นแบบวันต่อวัน) หยิบยาใส่ถ้วยยาจำนวนตามที่แพทย์สั่ง ยาที่หุ้มมาด้วย Foil ให้แกะยาที่เตียงของผู้ป่วย Foil ที่ห่อหุ้มยาไว้จะช่วยป้องกันไม่ให้ยาโดนแสงเพื่อคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพของยา และช่วยในการตรวจสอบยาว่าตรงกับแผนการรักษาหรือไม่
2) ยาชนิด Multidose ค่อยๆ เทยาจากซองยาหรือขวดที่บรรจุยาหรือ Foil โดยที่ไม่ให้มือสัมผัสยา เพื่อป้องกันสิ่งสกปรกจากมือปนเปื้อน
3) ยาน้ำ ให้หันป้ายยาหรือฉลากยาเข้าหาฝ่ามือ เพื่อป้องกันยาหกเปื้อนป้ายยาหรือฉลากยาทำให้ป้ายยาหรือฉลากยาเลอะเลือนได้ ถือแก้วยาให้อยู่ระดับสายตา โดยวางนิ้วหัวแม่มือไว้ที่ระดับที่ต้องการเพื่อให้เทยาได้ตามจำนวนที่ถูกต้อง ก่อนรินยาต้องเขย่ายาให้เข้ากันก่อน
4) ดูชื่อ ขนาดยาให้ตรงกับใบ MAR อีกครั้งก่อนเก็บยาเข้าที่
5) ให้ผู้ป่วยรับประทานยาตรงตามเวลาในใบ MAR
6) ดูเบอร์เตียง ถามชื่อ - สกุลผู้ป่วยให้ตรงกับใบ MAR ของผู้ป่วยแต่ละรายตรวจดูป้ายชื่อที่ข้อมือ เพื่อระบุตัวผู้ป่วยเป็นการตรวจสอบว่าผู้ป่วยได้รับยาถูกคน เพื่อป้องกันความคลาดเคลื่อนใน
7) แจกยาให้ผู้ป่วยรับประทานภายในเวลาที่กำหนด ไม่แจกยาก่อนหรือหลังเวลาที่ กำหนดเกิน 30 นาที
8) ประเมินสัญญาณชีพผู้ป่วยก่อนให้ยา ในกรณีที่ยานั้นมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ หรือประเมินระดับความปวดก่อนให้ยาแก้ปวด
9) ให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาล อยู่กับผู้ป่วยจนกลืนยาเรียบร้อย ไม่วางยาไว้ที่ข้างเตียงผู้ป่วย เพราะการบริหารยาจะถือว่าเสร็จสมบูรณ์และถูกต้องตามกฎหมายต่อเมื่อผู้ป่วยได้กลืนยาแล้ว
10) สังเกตการเปลี่ยนแปลงหลังรับประทานยาเพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันท่วงที และเป็นการประเมินผลการรักษาหลังจากที่ได้รับยา
11) บันทึกในแผนการพยาบาลและในใบ MAR ทุกครั้งหลังให้ยา
การให้ยาเฉพาะที่
การสูดดม (Inhalation)
เป็นการให้ยาในรูปของก๊าซ (Gas)
ไอระเหย (Vapor) หรือ ละออง (Aerosol)
สามารถให้โดยการพ่นยาเข้าสู่ทางเดินหายใจ เพื่อให้ยาไปสู่บริเวณที่ต้องการให้ยาออกฤทธิ์ ยาออกฤทธิ์แบบเฉพาะที่หรือแบบทั่วร่างกาย
ยาดูดซึมในส่วนลึกของระบบทางเดินหายใจที่มีเส้นเลือดขนาดเล็กอยู่มาก
การให้ยาทางตา (Eye instillation)
ดวงตาเป็นเนื้อเยื่อที่บอบบางมาก ติดเชื้อได้ง่าย
การใช้ยาบริเวณตาจึงต้องคำนึงถึงความสะอาดเป็นสำคัญ
ยาที่ใช้กับตามีทั้งยาหยอดตา ป้ายตาและยาล้างตา
การให้ยาทางหู (Ear instillation)
เป็นการหยอดยาเข้าไปในช่องหูชั้นนอก
ยาที่ใช้เป็นยาน้ำ
ออกฤทธิ์เฉพาะเยื่อบุในช่องหู
มักเป็นยาชาหรือยาฆ่าเชื้อโรคเฉพาะที่
การหยอดยาจมูก (Nose institation)
ให้ผู้ป่วยเงยหน้าขึ้น และพยาบาลยกปีกจมูกผู้ป่วยข้างที่จะหยอดยาขึ้นเบาๆ
แล้วหยดยาผ่านทางรูจมูกห่างประมาณ 1-2 นิ้ว
ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าเดิมประมาณ 5 -10 นาที เพื่อป้องกันยาไหลย้อนออกมา
การเหน็บยา
วิธีการเหน็บยาทางทวารหนัก (Rectum suppository)
วิธีการเหน็บยาทางช่องคลอด (Vaginal suppository)
การบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การวินิจฉัยการพยาบาล
การประเมินผล
การประเมินสภาพ
ประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อดูหน้าที่การทำงานของ ตับ ไต
การได้รับสารน้ำเพียงพอหรือไม่
ประวัติการแพ้ยา
ความรู้ความเข้าใจเรื่องยาที่ได้รับ
ประเมินดูว่าผู้ป่วยมีข้อห้ามในการให้ยาทางปากหรือไม่
การปฏิบัติตัวในการได้รับยา
สมรรถนะย่อยในแต่ละด้านของกรอบสมรรถนะกลางของ 5 สภาวิชาชีพ
สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้ (Monitor and review)
6.1 ทบทวนแผนการบริหารยาให้สอดคล้องกับแผนการรักษาที่ผู้ป่วยได้รับ
6.2 ต้องมีการติดตามประสิทธิภาพของการรักษาและอาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยา
6.3 ค้นหาและรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาโดยใช้ระบบการรายงานที่เหมาะสม
6.4 ปรับแผนการบริหารยาให้ตอบสนองต่ออาการและความต้องการของผู้ป่วย
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
7.1 รู้เกี่ยวกับชนิด สาเหตุ ของความคลาดเคลื่อนทางยาที่พบบ่อย และวิธีการป้องกันการ หลีกเลี่ยง และการประเมิน
7.2 ระบุความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการสั่งยาผ่านสื่อหรือบุคคลอื่น เช่น สั่งทางโทรศัพท์ ทาง E-mail ทาง Line หรือสั่งผ่านบุคคลที่สาม และหาแนวทางลดความเสี่ยงนั้น7.3 บริหารยาอย่างปลอดภัย
ตามกระบวนการบริหารยา
7.4 พัฒนาหาความรู้ให้ทันสมัยอยู่เสมอในประเด็นใหม่ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้
7.5 รายงานความคลาดเคลื่อนในการใช้ยา และ ทบทวนการปฏิบัติเพื่อป้องกัน การเกิดซ้ำ
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ (Provide information)
5.1 ตรวจสอบความเข้าใจและความมุ่งมั่นตั้งใจของผู้ป่วย/ผู้ดูแลในการจัดการ เฝ้าระวังติดตาม
และการมาตรวจตามนัด
5.2 ให้ข้อมูลเกี่ยวกับยาที่ชัดเจน เข้าใจได้ง่าย และเข้าถึงได้กับผู้ป่วย/ผู้ดูแล
5.3 แนะนำผู้ป่วย/ผู้ดูแลเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ในเรื่องยา และการรักษา
5.4 สร้างความมั่นใจให้ผู้ป่วย/ผู้ดูแล ว่าจะจัดการอย่างไรในกรณีที่มีอาการไม่ดีขึ้นหรือการรักษาไม่ก้าวหน้าในช่วงเวลาที่กำหนด
5.5 สนับสนุนผู้ป่วย/ผู้ดูแลให้มีส่วนรับผิดชอบในการจัดการตนเองเรื่องยาและภาวะเจ็บป่วย
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ และเป็นไปตามหลักเวชจริยศาสตร์ (Prescribe professionaly)
8.1 มั่นใจว่าพยาบาลสามารถสั่งจ่ายยาได้ตามพรบ.วิชาชีพและพรบ.ยาแห่งชาติ
8.2 ยอมรับความรับผิดชอบส่วนบุคคลในการสั่งยาและเข้าใจในประเด็นกฎหมายและจริยธรรม
8.3 รู้และทำงานภายใต้กฎหมาย และระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการสั่งยา (ยาที่ควบคุมยาที่ไม่มีใบอนุญาต ยาไม่มีฉลาก)
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
4.1 เข้าใจโอกาสที่จะเกิดผลไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา และดำเนินการเพื่อหลีกเลี่ยง/ลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ตระหนักและจัดการแก้ไขปัญหา
4.2 เข้าใจการสั่งจ่ายยาของแพทย์ตามกรอบบัญชียาหลักแห่งชาติ
4.3 ตรวจสอบและคำนวณการใช้ยาให้ถูกต้อง
4.4 คำนึงถึงโอกาสที่จะเกิดการใช้ยาผิด (เช่น ผิดขนาด ผิดทาง ผิดวิธี ผิดชนิด)
4.5 ใช้ข้อมูลที่ทันสมัยเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (เช่น การเก็บรักษาการบรรจุ ฯลฯ)
4.6 ใช้ระบบที่จำเป็นเพื่อการบริหารยาอย่างมีประสิทธิภาพ (เช่น ใบ MAR)
4.7 สื่อสารข้อมูลเกี่ยวกับยาและการใช้ยาแก่ผู้เกี่ยวข้องเมื่อต้องมีการส่งต่อข้อมูลการรักษา
สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่างต่อเนื่อง (Improve prescribing practice)
9.1 สะท้อนคิดการบริหารยาของตนเองและการสั่งยาของผู้เกี่ยวข้อง เพื่อปรับปรุงการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เข้าใจและใช้เครื่องมือหรือกลไกที่เหมาะสมในการปรับปรุงการบริหารยาและการสั่งยา
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา
3.1 ชี้แจงทางเลือกในการรักษา ยอมรับในการตัดสินใจเลือกแผนการรักษาและเคารพในสิทธิของผู้ป่วย/ ผู้ดูแลในการปฏิเสธและจำกัดการรักษา
3.2 ระบุและยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล ค่านิยม ความเชื่อ และความคาดหวัง เกี่ยวกับสุขภาพและการรักษาด้วยยา
3.3 อธิบายเหตุผล และความเสี่ยง/ประโยชน์ของทางเลือกในการรักษาที่ผู้ป่วย/ผู้ดูแลเข้าใจได้
3.4 ประเมินความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอโดยไม่ด่วนตัดสิน และเข้าใจ เหตุผลในการไม่ร่วมมือของผู้ป่วยที่อาจเกิดขึ้นได้และหาวิธีที่ดีที่สุดในการสนับสนุนผู้ป่วย/ผู้ดูแล
3.5 สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย/ผู้เกี่ยวข้องเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลโดยไม่คาดหวังว่าการสั่งยานั้นจะเป็นไปตามที่ต้องการ
3.6 ทำความเข้าใจกับการร่วมปรึกษาหารือก่อนใช้ยาเพื่อผลลัพธ์ที่นำไปสู่ความพึงพอใจของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Prescribe as part of a team)
10.1 มีส่วนร่วมกับสหวิชาชีพเพื่อให้มั่นใจว่าการดูแลมีความต่อเนื่อง เชื่อมโยงกันในทุกหน่วย โดยไม่ขัดแย้ง
10.2 สร้างสัมพันธภาพกับทีมสหวิชาชีพ บนพื้นฐานของความเข้าใจ ความไว้วางใจและ ยอมรับในบทบาทของสหวิชาชีพ
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจำเป็น (Consider the options)
2.1 พิจารณาข้อมูลที่สำคัญของผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการเลือกใช้ยาหรือการรักษาแบบไม่ใช้ยาในการรักษาและการส่งเสริมสุขภาพ
2.2 พิจารณาข้อมูลที่สำคัญของผู้ป่วยเพื่อประกอบการปรับขนาดยา หยุดการให้ยาหรือเปลี่ยนยา
2.3 ประเมินความเสี่ยงและประโยชน์ของการใช้ยาและไม่ใช้ยา
2.4 ใช้ความรู้ด้านเภสัชศาสตร์ของยาที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง
2.5 พิจารณาโรคร่วม ยาที่ใช้อยู่ การแพ้ยา ข้อห้ามการใช้ยา และคุณภาพชีวิตที่อาจส่งผลกระทบต่อการเลือกใช้ยา
2.6 คำนึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาของผู้ป่วย เช่น ความสามารถในการกลืนยาศาสนา และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากวิธีการบริหารยา
2.7 พัฒนาความรู้ให้เป็นปัจจุบัน ใช้แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์และคำนึงถึงความคุ้มทุนในการพิจารณาการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
2.8 เข้าใจเรื่องเชื้อดื้อยา และแนวทางการป้องกันและควบคุมเชื้อดื้อยา (antimicrobial stewardship measures)
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่กระบวนการพยาบาลในการให้ยา
การวางแผน (planning)
การปฏิบัติการให้ยา (implementation)
การวินิจฉัยการพยาบาล (diagnosis)
การประเมินผล (evaluation)
การประเมินสภาพ (assessment)
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา หรือมีความจำเป็นต้องใช้ยาในการรักษา(Assess the patient)
1.1 การประเมินประวัติโรคประจ าตัว ประวัติการใช้ยา และประวัติการแพ้ยา/แพ้อาหาร
1.2 ประเมินอาการข้างเคียงจากการใช้ยา
1.3 ประเมินอาการที่ดีขึ้นหรือเลวลง
1.4 ติดตามความร่วมมือในการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง
1.5 การส่งต่อ
รูปแบบการบริหารยา
ควรยึดหลักการพื้นฐาน 7 ประการ
พยาบาลวิชาชีพยึดหลักถึง 11 ข้อ ดังนี้
Right documentation (ถูกการบันทึก)
Right to refuse
คือการตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยในการจัดการยา
Right technique (ถูกเทคนิค)
Right History and assessment
คือการซักประวัติ และการประเมินอาการก่อน-หลังให้ยา
Right route (ถูกวิถีทาง)
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation
คือการที่จะต้องให้ยาร่วมกัน
Right dose (ถูกขนาด)
Right to Education and Information
คือก่อนที่พยาบาลจะให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้งชื่อยาที่จะให้ ทางที่จะให้ยา ผลการรักษา ผลข้างเคียงของยาที่อาจจะเกิด และอาการที่ต้องเฝ้าระวัง ก่อนการให้ยาทุก
Right drug (ถูกยา)
Right time (ถูกเวลา)
การให้ยาหลังอาหาร
ต้องให้หลังอาหารทันทีจนถึง 2 ชั่วโมงหลังอาหาร
ให้ในกรณีที่ยามีผลระคายเคืองกระเพาะอาหารซึ่งอาหารจะช่วยลดการระคายเคืองได้
การให้ยาช่วงใดก็ได้คืออาหารไม่มีผลต่อการดูดซึมดังนั้นจึงให้ช่วงเวลาใดก็ได้
การให้ยาก่อนอาหาร
หลังอาหารไปแล้ว 2 ชั่วโมง
รับประทานยาตอนท้องว่าง
ควรให้ยาก่อนอาหารอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
การให้แบบกำหนดเวลาหรือให้เฉพาะกับอาหารที่เฉพาะ
Right patient/client (ถูกคน)
หลักสำคัญในการให้ยา
มี 14 ข้อ ดังนี้
การให้ยาทางปากใช้หลักสะอาด และการฉีดยาใช้หลัก aseptic technique
ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ก่อนให้ยาทุกครั้ง หากมีข้อสงสัยให้ตรวจสอบจากใบสั่งยาทุกครั้งและหากไม่แน่ใจให้ซักถามจากแพทย์ผู้ทำการรักษา
ก่อนให้ยาต้องทราบวัตถุประสงค์การให้ยา การวินิจฉัยโรค ผลของยาที่ต้องการให้เกิดและฤทธิ์ข้างเคียงของยา
ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาจากตัวผู้ป่วยและญาติในกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวและทดสอบการแพ้ของยาบางชนิด
ตรวจสอบวันหมดอายุของยา
ไม่ควรเตรียมยาค้างไว้ บริเวณที่เตรียมยาต้องสะอาดและมีแสงสว่างเพียงพอ
ไม่ให้ยาที่ฉลากมีการลบเลือนไม่ชัดเจน
ตรวจสอบผู้ป่วยก่อนให้ยาโดยการถามชื่อและนามสกุลก่อนทุกครั้ง
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการให้ยาและผลข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
ต้องให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาลเพื่อป้องกันผู้ป่วยไม่ได้รับยา
ลงบันทึกการให้ยาหลังจากให้ยาทันที
มีการประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
สังเกตอาการก่อนและหลังการให้ยา
ในกรณีที่ให้ยาผิดต้องรีบรายงานให้พยาบาลหัวหน้าเวรรับทราบเพื่อหาทางแก้ไข
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา (Transcribing error)
ที่หอผู้ป่วย
ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์
ที่เภสัชกรรม
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing Error)
ความคลาดเคลื่อนในกระบวนการจ่ายยาของกลุ่มงานเภสัชกรรม ที่จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคำสั่งใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescription error)
(1) สั่งยาผิดขนาด
(2) สั่งยาผิดชนิด (3) ผิดวิถีทาง
(4) ผิดความถี่
(5) สั่งยาที่มีประวัติแพ้
(6) ลายมือไม่ชัดเจน
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
การให้ยาไม่ครบ (Omission error)
การให้ยาผิดชนิด (Wrong drug error)
การให้ยาซึ่งผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง (Unordered or unauthorized drug)
การให้ยาผิดขนาด (Wrong-dose or Wrong-strength error)
การให้ยาผิดวิถีทาง (Wrong-route error)
การให้ยาผิดเวลา (Wrong-time error)
การให้ยามากกว่าจำนวนครั้งที่สั่ง (Extra-dose error)
การให้ยาในอัตราเร็วที่ผิด (Wrong rate of administration error)
การให้ยาผิดเทคนิค (Wrong technique error)
การให้ยาผิดรูปแบบยา (Wrong dosage-form error
การให้ยาผู้ป่วยผิดคน (Wrong patient)