Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่, OD, tid, qid, bid, q 6 hrs., วันละ 1ครั้ง,…
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
เพื่อการรักษา
รักษาตามอาการ เช่น อาการปวด ให้ได้รับยาบรรเทาอาการปวด
รักษาเฉพาะโรค
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
อายุและน้ำหนักตัว
เพศ
กรรมพันธุ์
ภาวะจิตใจ
ภาวะสุขภาพ
ทางที่ให้ยา ยาที่ให้ทางหลอดเลือดจะดูดซึมได้เร็วกว่า
เวลาที่ให้ยา
สิ่งแวดล้อม
ระบบการตวงวัดยา
ระบบอโพทีคารี ถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน
ระบบเมตริก ถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน มีหน่วยที่ใช้เป็น หยด ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
ความถี่การให้ยา
วิถีทางการให้ยา
เวลาการให้ยา
คำสั่งแพทย์คำนวณขนาดยา
คำสั่งแพทย์
คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป
คำสั่งใช้ภำยในวันเดียว
คำสั่งที่ต้องให้ทันที
คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
ชื่อของยา
ขนาดของยา
วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
วิถีทางการให้ยา
ชื่อของผู้ป่วย
เวลาและความถี่ในการให้ยา
ลายมือผู้สั่งยา
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
ทางปาก (oral)
ทางสูดดม (inhalation)
ทางเยื่อบุ (mucous)
ทางผิวหนัง (skin)
ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular)
ทางชั้นผิวหนัง (intradermal)
ทางหลอดเลือดดำ (intravenous)
ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous / hypodermal)
คำนวณขนาดยา
ความเข้มข้นของยา (ในแต่ละส่วน)=ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี/ปริมาณยาที่มี
รูปแบบการบริหารยา
Right patient/client (ถูกคน) คือการให้ยาถูกคน
Right drug (ถูกยา) คือการให้ยาถูกชนิด
Right dose (ถูกขนาด)
Right time (ถูกเวลา)
Right route (ถูกวิถีทาง)
Right technique (ถูกเทคนิค)
Right documentation (ถูกการบันทึก)
Right to refuseการตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอม
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation คือการที่จะต้องให้ยาร่วมกัน
จะต้องดูก่อนว่ายานั้นสามารถให้ร่วมกันได้ไหม
Right History and assessment คือการซักประวัติ
Right to Education and Information
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะทาง
การให้ยาทางปาก
การให้ยาที่สามารถรับประทานทางปากได้
การให้ยาเฉพาะที่
เป็นการให้ยาภายนอกเฉพาะตำแหน่ง
การสูดดม (Inhalation)
การให้ยาทางตา (Eye instillation)
การหยอดยาจมูก (Nose instillation)
การเหน็บยา
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนที่พบในใบสั่งยา(ใบ Order) อาจเกิดจากแพทย์เขียนผิดพลาด หรือไม่ชัดเจนรวมถึงการเลือกใช้ยาผิด
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนของกระบวนการคัดลอกคำสั่งใช้ยาจากคำสั่งใช้ยาต้นฉบับที่ผู้สั่งใช้ยาเขียน
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา
ความคลาดเคลื่อนในกระบวนการจ่ายยาของกลุ่มงานเภสัชกรรม ที่จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคำสั่งใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
การบริหารยาที่แตกต่างไปจากคำสั่งใช้ยาของผู้สั่งใช้ยาที่เขียนไว้ในใบบันทึกประวัติการรักษาผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาในครั้งแรก พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์
พร้อมกับเช็คยาและจำนวนให้ตรงตามฉลากยา
การซักประวัติ
เมื่อมีคำสั่งใหม่ หัวหน้าเวร ลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยาเนื่องจากความผิดพลาดด้านบุคคลโดยเฉพาะยาน้ำ
เวรบ่าย พยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบ MAR กับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกัน
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้าย NPO และเขียนระบุว่า NPO เพื่อผ่าตัดหรือเจาะเลือดเช้า ให้อธิบายและแนะนำผู้ป่วยและญาติทุกครั้ง
การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้อง
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบช้ำก่อนให้ยา ให้ตรวจสอบ 100%
การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยา
และให้พยาบาลตรวจดูยาในลิ้นชักของผู้ป่วยทุกเตียง
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจำเป็น
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ
สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ
สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่างต่อเนื่อง
สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ
กระบวนการพยาบาลใน
การบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การวินิจฉัยการพยาบาล
การประเมินผล
การประเมินสภาพ
OD
tid
qid
bid
q 6 hrs.
วันละ 1ครั้ง
วันละ 2 ครั้ง
วันละ 3 ครั้ง
วันละ 4 ครั้ง
ทุก 6 ชม.
ID
V
a.c
p.c.
p.r.n.
h.s.
stat
ก่อนอาหาร
เมื่อจำเป็น
ทันทีทันใด
หลังอาหาร
ก่อนนอน
O
M
SC
รับประทานทางปาก
เข้ากล้ามเนื้อ
เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
เข้าชั้นใต้ผิวหนัง
เข้าหลอดเลือดดำ
Inhal
Supp
instill
subling
Nebul
หยอด
เหน็บ / สอด
อมใต้ลิ้น
ทางสูดดม
พ่นให้สูดดม