Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.2
การบริหารยาฉีด
image - Coggle Diagram
บทที่ 4.2
การบริหารยาฉีด
-
-
3 ตำแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
2 วิธีการฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง (SC)
- ทำผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็ม หรือการใช้นิ้วมือจับรวบเนื้อเยื่อบริเวณที่จะฉีดเข้า หากัน แต่วิธีหลังนี้จะไม่ใช้ในการฉีด heparin
- ตำแหน่งสำหรับฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
-
-
3) บริเวณหน้าท้องที่อยู่ระหว่างแนวใต้ชายโครงกับแนวของ anterior superior iliac spine ยกเว้นบริเวณรอบสะดือ 1 นิ้ว เพราะมี pain receptor มาก
-
- การแทงเข็มถ้าใช้เข็มยาว 5/8 นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 45 องศา ถ้าใช้เข็มยาว ½ นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 90 องศา
- การฉีด heparin ไม่ต้องทดสอบว่าปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
- การฉีด heparin และ insulin ห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดยาแล้ว
3 วิธีการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ (IM)
-
วิธีการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
หมายเหตุ : จำนวนยาฉีดเข้ากล้ามเนื้อสะโพก หรือหน้าขาแต่ละครั้งได้ไม่เกิน 5 ml ถ้าฉีดเข้ากล้ำมเนื้อ ต้นแขน ฉีดครั้งหนึ่งไม่เกิน 2 ml
5) ยึดหัวเข็มและกระบอกฉีดยาให้มั่นคง (ไม่โยกไปมา และไม่เลื่อนขึ้นลง) ด้วยมือ ข้างที่ไม่ถนัด และใช้มือข้างถนัดดึงลูกสูบขึ้นเล็กน้อย
-
-
-
3) ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างถนัด ส่วนมือข้างไม่ถนัดทำผิวหนังบริเวณฉีดยาให้ตึง โดยใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้กางออกขณะกดลงบนผิวหนัง
8) ปลดเข็มออกจากกระบอกฉีดยา แยกเข็มฉีดยาทิ้งในชามรูปไต หรือภาชนะ สำหรับทิ้งเข็มโดยเฉพาะเพื่อนำเข็มไปทำลายต่อไป
-
9) จัดเสื้อผ้าผู้ป่วยให้เรียบร้อย และจัดให้อยู่ในท่าที่สบาย (ถ้าเป็นผู้ป่วยนอก ควรให้ ผู้ป่วยพักเพื่อสังเกตอาการประมาณ 15 นาที)
1) ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะฉีดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70% โดยหมุนออก จากจุดที่จะแทงเข็มให้เป็นวงกว้างประมำณ 2-3 นิ้ว ปล่อยให้ alcoholแห้ง
-
-
3) วิธีหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ Vastus lateralis (กล้ามเนื้อหน้าขา) ให้ แบ่งหน้าขาตามความยาว (จาก greater trochanter ไปยัง lateral femoral condyle) ออกเป็น 3 ส่วน ส่วนกลางเป็นส่วนที่เหมาะสมสำหรับฉีดยา
1 วิธีการฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง (ID)
- ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
- สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นมา ถ้าไม่มีตุ่มนูน แสดงว่าฉีดลึกเข้าไปในชั้นใต้ผิวหนัง
- แทงเข็มทำมุม 5-15 องศา กับผิวหนัง โดยหงายปลายตัดเข็มขึ้น และแทงเข้าไป เพียงให้ปลายตัดเข็มเลยเข้าไปในผิวหนังเล็กน้อย
หมายเหตุ : การแทงเข็มมุมกว้าง และแทงลึก จะทำให้ปลายเข็มเข้าไปในชั้นใต้ผิวหนัง
- ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยา
-
- ใช้ปากกาลูกลื่นหมึกสีน้ำเงินหรือดำ เขียนรอบรอยนูนที่เกิดจากการฉีดยาและ บอกผู้ป่วยไม่ให้ลบรอยหมึกที่เขียนไว้ จนกว่าจะอ่านผลเรียบร้อยแล้ว
- ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาจนหมดก่อนฉีดยา
ขั้นเตรียมการก่อนฉีดยา
- ตรวจความพร้อมของเครื่องใช้
- ถามชื่อ – สกุลของผู้ป่วย รวมถึงประวัติการแพ้ยา
-
- เลือกบริเวณสำหรับฉีดยา ควรหลีกเลี่ยงการฉีดยาในบริเวณที่มีการอักเสบ ช้ำบวม เป็นแผล มีก้อนแข็ง หรือเป็นอัมพาต
- จัดท่าและเสื้อผ้ำผู้ป่วย เปิดบริเวณที่จะฉีดยาให้กว้างพอ หากเป็นบริเวณที่ไม่ควรเปิดเผยควร ปิดประตูหรือกั้นม่าน
- ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือ
-