Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
เพื่อการรักษา
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
รักษาเฉพาะโรค
รักษาตามอาการ
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
กรรมพันธุ์
ภาวะจิตใจ
เพศ
ภาวะสุขภาพ
อายุและน้ำหนักตัว
ทางที่ให้ยา
เวลาที่ให้ยา
สิ่งแวดล้อม
ระบบการตวงวัดยา
ระบบเมตริก หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน มีหน่วยที่ใช้เป็น หยด ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว
ระบบอโพทีคารี ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
ความถี่การให้ยา
เวลาการให้ยา
วิถีทางการให้ยา
คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
คำสั่งแพทย์
คำสั่งที่ต้องให้ทันที (Stat order)
คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น (prn order)
คำสั่งใช้ภายในวันเดียว (Single order of order for one day)
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
ชื่อของยา
ชื่อของผู้ป่วย
ขนาดของยา
วีธีทางการให้ยา
เวลาและความถี่ในการให้ยา
ลายมือผู้สั่งยา
คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป (Standing order / order for continuous)
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
ทางสูดดม (inhalation)
ทางเยื่อบุ (mucous)
ทางปาก (oral)
ทางผิวหนัง (skin)
ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular)
ทางชั้นผิวหนัง (intradermal)
ทางหลอดเลือดดำ (intravenous)
ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous / hypodermal)
คำนวณขนาดยา
ความเข้มข้นของยา(ในแต่ละส่วน) = ขนาดความเข้มข้นของยำที่มีหารปริมาณยาที่มี
รูปแบบการบริหารยา
Right dose (ถูกขนาด)
Right time (ถูกเวลา)
Right drug (ถูกยา)
Right route (ถูกวิถีทาง)
Right patient/client (ถูกคน)
Right technique (ถูกเทคนิค)
Right documentation (ถูกการบันทึก)
Right History and assessment
Right to refuse
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation
Right to Education and Information
หลักสำคัญในการให้ยา
ก่อนให้ยาต้องทราบวัตถุประสงค์การให้ยา
ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาจากตัวผู้ป่วยและญาติในกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวและทดสอบการแพ้ของยาบางชนิด
ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ก่อนให้ยาทุกครั้ง
ตรวจสอบวันหมดอายุของยา
การให้ยาทางปากใช้หลักสะอาด และการฉีดยาใช้หลัก aseptic technique
ไม่ควรเตรียมยาค้างไว้
ไม่ให้ยาที่ฉลากมีการลบเลือนไม่ชัดเจน
ตรวจสอบผู้ป่วยก่อนให้ยา
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการให้ยาและผลข้ำงเคียง
ต้องให้ผู้ป่วยรับประทานยต่อหน้ำพยาบาลเพื่อป้องกันผู้ป่วยไม่ได้รับยา
ลงบันทึกการให้ยาหลังจากให้ยาทันที
มีการประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
สังเกตอาการก่อนและหลังการให้ยา
ในกรณีที่ให้ยาผิดต้องรีบรายงานให้พยาบาลหัวหน้าเวรรับทราบเพื่อหาทางแก้ไข
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
การให้ยาเฉพาะที่ เป็นการให้ยาภายนอกเฉพาะตำแหน่ง เพื่อให้ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่
การให้ยาทางปาก เป็นวิธีที่ง่าย สะดวก และปลอดภัยที่สุด
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคาสั่งใช้ยา (Transcribing error)
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing Error)
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescription error)
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration error)
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
เมื่อมีคำสั่งใหม่ หัวหน้าเวร ลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยาเนื่องจากความผิดพลาดด้านบุคคลโดยเฉพาะยาน้ำ
การซักประวัติ จะถามเรื่องการแพ้ยาทุกครั้งดูสติ๊กเกอร์สีแสดงแพ้ยาที่ติดอยู่ขอบ OPD card และดูรายละเอียดใน OPD card ร่วมด้วยทุกครั้ง
เวรบ่าย พยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบ MAR กับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกัน และดูยาในช่องลิ้นชักยาอีกครั้ง
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาในครั้งแรก พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้าย NPO และเขียนระบุว่า NPO เพื่อผ่าตัดหรือเจาะเลือดเช้า
กรณีคำสั่งสารน้ำ+ยา B co 2 ml ให้เขียนคำว่า +ยำ B co 2 ml ด้วยปากกาเมจิก อักษรตัวใหญ่บนป้ายสติ๊กเกอร์
การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้อง
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบช้ำก่อนให้ยา ให้ตรวจสอบ 100% เช็คดูตามใบMAR ทุกครั้ง
การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยา
ให้ยึดหลัก 6R
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
(Competencies of nurses for Rational Drug Use)
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา โดยพิจารณาจากข้อมูลทางเลือกที่ถูกต้อง
เหมาะสมกับบริบทและเคารพในมุมมองของผู้ป่วย (Reach a shared decision)
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจำเป็น (Consider the options)
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ (Provide information)
สามาถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา หรือมีความจาเป็นต้องใช้ยาในการรักษา (Assess the patient)
สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้ (Monitor and review)
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม (Prescribe safely)
สามารถใช้ยาได้อย่ำงเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ และเป็นไปตำมหลักเวชจริยศาสตร์ (Prescribe professionally)
สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยาได้อย่างต่อเนื่อง (Improve prescribing practice)
สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Prescribe as part of a team)
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การประเมินสภาพ
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผล