Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่💊🩺🩹📌, 💕✨🩺💊📌🌈นางสาวพลินี จำปา 19A…
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่💊🩺🩹📌
ระบบการตวงวัดยา
ต้องทราบระบบการตวงวัดยา
3.1 ระบบอโพทีคารีถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน ที่พบบ่อย
20 เกรน (grain) = 1 สครูเปิล (scruple)
3 สครูเปิล (scruple) = 1 แดรม (dram)
8 แดรม (dram) = 1 ออนซ์ (ounce)
12 ออนซ์ (ounce) = 1 ปอนด์ (pound)
3.2 ระบบเมตริก ถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
20 เกรน (grain) = 1 สครูเปิล (scruple)
3 สครูเปิล (scruple) = 1 แดรม (dram)
8 แดรม (dram) = 1 ออนซ์ (ounce)
12 ออนซ์ (ounce) = 1 ปอนด์ (pound)
3.3 ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน มีหน่วยที่ใช้เป็น หยด ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว
สามารถเทียบได้กับระบบเมตริก
หยด * 1 = มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนชา * = 5 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนหวำน = 8 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนโต๊ะ * = 15 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยชา = 180 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยแก้ว = 240 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1. วัตถุประสงค์ของกำรให้ยา
มี 3 ประการ
1.2 เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ เช่น ฉีดวัคซีนบีซีจีเพื่อป้องกันวัณโรค ให้วิตามินเพื่อ
บำรุงร่างกายให้แข็งแรง
1.3 เพื่อกำรตรวจวิเคราะห์โรค เช่น ให้กลืนแป้งเบเรี่ยม ซัลเฟต แล้วเอ็กซเรย์เพื่อตรวจดูสภาพของ
กระเพาะอาหารและลำไส้หรือกำรฉีดไอโอดีนทึบรังสีเข้าทางหลอดเลือดดำ (Intravenous pyelography :
IVP) เพื่อถ่ายภาพเอ็กซเรย์ดูการเคลื่อนขับสารทึบรังสีที่ออกจำกไตแต่ละข้าง
1.1 เพื่อการรักษา เป็นการให้ยาเพื่อรักษาตามสาเหตุของโรค หรือช่วยให้ผู้ป่วยบรรเทา ทุเลา และ
หายจากอการหรือโรคที่เป็นอยู่
2) รักษาเฉพาะโรค เช่น ยาฆ่าเชื้อในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อ
3) ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด เช่น ผู้ป่วยเป็นโลหิตจางเพราะขาดธาตุเหล็ก ให้ได้รับ
เฟอรัส ซัลเฟต
1) รักษาตามอาการ เช่น อาการปวด ให้ได้รับยาบรรเทำอาการปวด ให้ของเพื่อบรรเทา
อาการคลื่นไส้อาเจียน เป็นต้น
4) ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ เช่น หัวใจเต้นเร็วเกินไป อาจได้รับยาดิจิทำลิส
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
ยาที่ผู้ป่วยได้รับแต่ละคน จะออกฤทธิ์ไม่เท่ากัน แม้จะได้ขนาดที่เท่ากัน มีปัจจัยหลายประการที่
พยาบาลต้องคำนึงถึง ดังนี้
2.4 ภาวะจิตใจ เช่น ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับยาเคมีบำบัดบางรายมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
มาก
2.5 ภาวะสุขภาพ ผู้ป่วยที่เป็นโรคหรือมีอาการป่วย เมื่อได้รับยาจะมีผลต่อการแสดงออกของฤทธิ์
ยาต่างจากคนปกติ
2.3 กรรมพันธุ์บางคนอาจมีความไวผิดปกติต่อยาบางชนิด บางคนแพ้ยาง่าย ซึ่งอาจเกิดจาก
พันธุกรรม
2.6 ทางที่ให้ยา ยาที่ให้ทางหลอดเลือดจะดูดซึมได้เร็วกว่ายาที่ให้รับประทานทางปาก
2.2. เพศ ผู้ชายมีขนาดตัวใหญ่กว่าผู้หญิง น้ำหนักย่อมมากกว่า ถ้าได้รับยาขนาดเท่ากัน ยาจะมี
ปฏิกิริยาต่อผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
2.7 เวลาที่ให้ยา ยาที่ให้ทางหลอดเลือดจะดูดซึมได้เร็วกว่ายาที่ให้รับประทำนทางปาก
2.1 อายุและน้ำหนักตัวเช่น ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกแต่ละรำยจะได้รับยาเคมีบำบัดใน
ปริมำณที่ต่ำงกันโดยแพทย์ผู้รักษำใช้หลักการคำนวณปริมาณยาจากน้ำหนักตัวของผู้ป่วย
2.8 สิ่งแวดล้อม ยาที่รักษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางชนิด ต้องให้ผู้ป่วยอยู่ในที่สงบ เพื่อจะได้พักผ่อน
รูปแบบการบริหารยา
Right technique (ถูกเทคนิค)
Right documentation (ถูกการบันทึก)
Right route (ถูกวิถีทาง)
Right to refuse
Right time (ถูกเวลา)
Right History and assessment
Right dose ถูกขนาด
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation
Right drug (ถูกยา) คือการให้ยาถูกชนิด
Right to Education and Information
Right patient/client (ถูกคน)
คำสั่งแพทย์คำนวณขนาดยา
5.1 คำสั่งแพทย์
5.1.2 คำสั่งใช้ภายในวันเดียว (Single order of order for one day)
5.1.3 คำสั่งที่ต้องให้ทันที(Stat order)
5.1.1 คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป (Standing order / order for continuous)
5.1.4 คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น (prn order)
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
4) ขนาดของยา
5) วิถีทางการให้ยา
3) ชื่อของยา
6) เวลาและความถี่ในการให้ยา
2) วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
7) ลายมือผู้สั่งยา
1) ชื่อของผู้ป่วย
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
รูปแบบเดียวกัน คือ ชื่อยา – ขนาด – จำนวน – ทำงที่ให้ – ความถี่
พยาบาลต้องมีความรู้เกี่ยวกับ
วิถีทางการให้ยา (route) และชนิดของการปรุงยาแต่ละชนิด
1) ทางปาก (oral) 2) ทางสูดดม (inhalation) 3) ทางเยื่อบุ (mucous) 4) ทางผิวหนัง (skin) 5) ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular) 6) ทางชั้นผิวหนัง (intradermal) 7) ทางหลอดเลือดด า (intravenous)
8) ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous / hypodermal)
5.2 คำนวณขนาดยา
การคำนวณยาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา
ความเข้มข้นของยา (ในแต่ละส่วน) = ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี/ปริมาณยาที่มี
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
คำสั่งแพทย์ในการรักษาส่วนใหญ่ใช้เป็นคำย่อและสัญลักษณ์ พยาบาลจึงจำเป็นต้องทราบความหมาย
โดยคำย่อที่ใช้บ่อย
ความถี่การให้ยา
ตัวย่อ ภาษาลาติน ความหมาย
OD omni die วันละ 1 ครั้ง
bid bis in die วันละ 2 ครั้ง
tid ter in die วันละ 3 ครั้ง
qid quarter in die วันละ 4 ครั้ง
q 6 hrs quaque 6 hora ทุก 6 ชั่วโมง
วิถีทางการให้ยา
รับประทานทางปาก
เข้ากล้ามเนื้อ
SC เข้าชั้นใต้ผิวหนัง
IV เข้าหลอดเลือดดำ
ID เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
subling อมใต้ลิ้น
instill หยอด
Supp เหน็บ / สอด
Nebul พ่นให้สูดดม
เวลาการให้ยา
a.c. ante cibum ก่อนอาหาร
p.c. post cibum หลังอาหาร
h.s. hora somni ก่อนนอน
p.r.n. pro re nata เมื่อจำเป็น
stat statim ทันทีทันได
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
การบริหารยาให้มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันการคลาดเคลื่อนทางการให้ยา
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาในครั้งแรก พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์พร้อมกับเช็ค
ยาและจำนวนให้ตรงตามฉลากยา หากไม่ตรงให้แจ้งเจ้าหน้าที่ทันที
การซักประวัติจะถามเรื่องการแพ้ยำทุกครั้ง
ดูสติ๊กเกอร์สีแสดงแพ้ยาที่ติดอยู่ขอบ OPD Card
และดูรายละเอียดใน OPD Card ร่วมด้วยทุกครั้ง
เมื่อมีคำสั่งใหม่ หัวหน้าเวร ลงคำสั่งในใบลงยาทุกครั้ง
การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยาเนื่องจากความผิดพลาดด้านบุคคลโดยเฉพาะยาน้ำ
เวรบ่าย พยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบลงยากับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกัน และดูยาในช่อง
ลิ้นชักยำอีกครั้ง
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้าย NPO และเขียนระบุว่ำ NPO เพื่อผ่าตัด/ หรือเจาะเลือดเช้า ให้
อธิบายและแนะนำผู้ป่วยและญาติทุกครั้ง
กรณีคำสั่งสารน้ำ+ ยา B co 2 ซีซีให้เขียนคำว่า + ยา B co 2 ซีซีด้วยปากกาเมจิก อักษรตัว
ใหญ่บนป้ายสติ๊กเกอร์ของสำรน้ำชัดเจนเพื่อสังเกตได้ง่าย
การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้องแล้วในกำรจัดยาที่เป็นคำสั่งใหม่
ผู้จัดจะดูวันที่ ที่สั่งยาใหม่ในซองยาในการเริ่มยาใหม่ในครั้งแรก พร้อมตรวจดูยากับใบลงยา อีกครั้งว่ามี
ตรงกันหรือไม่ กรณีพบปัญหาไม่ตรงกัน จะไปดูคำสั่งแพทย์อีกครั้ง
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบช้าก่อนให้ยา ให้ตรวจสอบ100 % เช็คดูตามใบลงยา
ทุกครั้ง
กำรแจกยาไล่แจกยาตามเตียง/เซนชื่อทุกครั้งหลังให้ยาและให้พยาบาลตรวจดูยาในลิ้นชักของ
ผู้ป่วยทุกเตียงจนเป็นนิสัยและดูผู้ป่วยประจำเตียงว่ามีหรือไม่
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
กระบวนการพยาบาลในการให้ยาประกอบด้วย การประเมินสภาพ (assessment) การวินิจฉัย
การพยาบาล (diagnosis) การวางแผน (planning) การปฏิบัติการให้ยา (implementation)
ประเมินผล (evaluation) ดังนั้นในการบริหารยาทำงปากและยาเฉพาะที่
1.การประเมินสภาพ
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผล
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสม เหตุผล(Competencies of nurses for Rational
Drug Use)
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อกำรใช้ยาได้อย่างเพียงพอ (Provide information)
สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้(Monitor and
review)
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม (Prescribe
safely)
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา โดยพิจารณาจำกข้อมูลทางเลือกที่ถูกต้อง
เหมาะสมกับบริบทและเคารพในมุมมองของผู้ป่วย (Reach a shared decision)
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ และเป็นไปตามหลักเวชจริย
ศาสตร์ (Prescribe professionally)
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมนะสม ตามความจำเป็น (Consider the
options)
สามารถพัฒนำความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่างต่อเนื่อง (Improve
prescribing practice)
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วย ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา หรือมีความจำเป็นต้องใช้ยาในการรักษา
(Assess the patient)
สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่ำงสมเหตุผล
(Prescribe as part of a team)
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
7.1 การให้ยาทางปาก
7.1.2 การพยาบาลเพื่อให้ยาได้ถูกหลักการ
7.1.3 การเตรียมยาตามขั้นตอน
7.1.1 อุปกรณ์ในการให้ยาทางปาก
7.1.4 การบันทึก
หมายถึง การให้ยาที่สามารถรับประทานทางปากได้ ซึ่งอำาจเป็นชนิดยาเม็ด
ยาแคปซูล ยาผง หรือยาน้ำ
7.2 การให้ยาเฉพาะที่
ได้แก่ ยาที่ให้ผู้ป่วยโดยการหยอด ทา เหน็บ สอดบริเวณอวัยวะต่าง ๆ
7.2.1 การให้ยาทางตา (Eye instillation)
7.2.2 การให้ยาทางหู(Ear instillation)
7.2.4 การเหน็บยา
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
ที่อาจเป็นสาเหตุ หรือนำไปสู่การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม หรือเป็นอันตรายแก่ผู้ป่วย หรือความคลาดเคลื่อนที่ทำให้ผู้ป่วยไม่ได้รับยาที่ควรได้รับ
ความคลาดเคลื่อนในกำรสั่งใช้ยา (Prescription error)
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา (Transcribing error)
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing Error)
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration Error)
8.1 ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescription error)
8.2 ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกค าสั่งใช้ยา (Transcribing error)
8.3 ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing Error)
8.4 ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration error)
8.4.6 การให้ยาผิดวิถีทาง (Wrong-route error)
8.4.7 การให้ยาผิดเวลา (Wrong-time error)
8.4.8 การให้ยามากกว่าจำนวนครั้งที่สั่ง (Extra-dose error)
8.4.4 การให้ยาผู้ป่วยผิดคน (Wrong patient) หมายถึง การให้ยาที่ไม่ใช่ของผู้ป่วยคนนั้น
อาจเนื่องจากพยาบาลจัดเตรียมยาไว้สำหรับผู้ป่วยหลายราย จึงให้สลับกับผู้ป่วยคนอื่น
8.4.9 การให้ยาในอัตราเร็วที่ผิด (Wrong rate of Administration error)
8.4.3 การให้ยาซึ่งผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง (Unordered or Unauthorized drug)
8.4.1 การให้ยาไม่ครบ (Omission error) หมายถึง การให้ยาผู้ป่วยไม่ครบมื้อ (ไม่ครบ
course) ตามที่แพทย์สั่ง
8.4.2 การให้ยาผิดชนิด (Wrong drug error) หมายถึง การให้ยาผู้ป่วยคนละชนิด (คนละตัว
หรือคนละชื่อ Generic name) กับที่แพทย์สั่ง
8.4.10 การให้ยาผิดเทคนิค (Wrong technique error)
8.4.11 การให้ยาผิดรูปแบบยา (Wrong dosage-form error)
💕✨🩺💊📌🌈นางสาวพลินี จำปา 19A 6201210378💙 🌈💉💤🏥🙏🏻