Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.2 การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
บทที่ 4.2 การบริหารยาฉีด
การคํานวณขนาดยา
ขั้นตอนการเตรียมยา
ขั้นตอนการฉีดยา
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
อุปกรณ์สำหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
ยาฉีด
single dose
multiple dose
กระบอกฉีดยา
barrel
tip
plunger
เข็มฉีดยา
hub
shaft
bevel or slanted tip
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาผงบรรจุขวด
4) ถอนเข็มและกระบอกฉีดยําออกจํากขวดยํานําปลอกเข็มที่ถอดออกมําสวมครอบเข็มไว้
5) เขย่าขวดให้ตัวทําละลํายละลํายผงจนหมดเป็นเนื้อเดียวกัน
3) ดูดตัวทําละลายตามปริมาณที่ต้องการ เมื่อได้ตัวทําละลายแล้วให้ฉีดตัวทําละลายเข้าในขวดยาผง โดยแทงเข็มเข้าจุกขวดยาแล้วดัน ลูกสูบ ให้ตัวทําละลายเข้าไปในขวดยาจนหมด หลังจากนั้นปล่อยนิ้วที่ดันลูกสูบออก
6) ทำความสะอาดจุกขวดยาอีกครั้งด้วยสําลีชุบalcoholปล่อยให้alcoholแห้ง
2) ทาความสะอาดจุกขวดตัวทําละลาย และจุกขวดยาด้วยสําลีชุบ alcohol70% จนถึงคอขวด ปล่อยให้ alcohol แห้ง
7) ใช้กระบอกฉีดยาพร้อมเข็มชุดเดิมดูดยาออกจากขวดตามปริมาณที่ต้องการด้วยวิธีเดียวกับการเตรียมยาฉีดจากยาน้ําบรรจุขวด
1) ตรวจดูตัวทําละลาย (น้ํากลั่นหรือน้ําเกลือ) ว่ามีฝุ่นผงหรือไม่ โดยคำว่าขวดยก ส่องดู หากมีฝุ่นผง ไม่ควรนามาใช้
8) หากยาที่ละลายแล้วใช้ไม่หมดและมีอายุที่จะเก็บไว้ใช้ได้ให้เขียนฉลากติดขวดไว้
และเก็บยาไว้ในที่ที่เหมาะสมตามสลากยาที่ แนบมากับยา
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้าบรรจุขวด
1) เขย่าขวดยาเบาๆให้ยาเข้ากัน
2) ทําความสะอาดจุกขวดยาด้วยสําลีชุบalcohol70%โดยวิธีหมุนจากจุดที่ แทงเข็มวนออกด้านนอกจนถึงคอขวดยา ปล่อยให้ alcohol แห้ง
8) ค่อย ๆ ปล่อยนิ้วท่ีดันลูกสูบออก น้ํายาจากขวดจะไหลเข้ามาในกระบอกฉีด
ยา เมื่อได้ยาครบตามปริมาณที่ต้องการถอนเข็มและกระบอกฉีดยาออกจากจุกขวดยา
7) คว่ำขวดยาลง โดยให้นิ้วดันลูกสูบอยู่ ปรับให้ปลํายตัดเข็มอยู่ในน้ํายา
3) ฉีกซองหอกระบอกฉีดยาโดยระวังมิให้เกิดการปนเปื้อน
9) ตรวจสอบชื่อยําบนขวดยําอีกครั้งหนึ่ง
4) สวมหัวเข็มสําหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่นพอประมาณ
10) เปลี่ยนเข็มใหม่เลือกขนาดและความยาวที่เหมาะสมสําหรับการฉีดยานั้นๆ
5) ถอดปลอกเข็มออกดูดอากาศเข้ากระบอกฉีดยาเท่าปริมาณยาที่ต้องการ
6) แทงเข็มเข้าจุกยางใช้นิ้วหัวแม่มือดันลูกสูบให้อากาศเข้าขวดยาจนหมด
11) หากเตรียมยาสําหรับฉีดผู้ป่วยหลายคน หรือหลายชนิดพร้อมกัน ควรวําง กระบอกฉีดยา (ที่เตรียมยาแล้ว) บนถาดที่มีผ้าสะอาดปูรอง และแนบการ์ดยาไว้เพื่อป้องกันการนํายาผิด ชนิดไปฉีดให้ผู้ป่วย
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้าบรรจุหลอด
4) คลี่สําลีชุบalcoholหรือgauzeท่ีผ่านกํารฆ่าเชื้อโรคแล้วหุ้มรอบบริเวณคอหลอด
5) ฉีกซองกระบอกฉีดยําโดยระวังมิให้เกิดกํารปนเปื้อน
3) เช็ดรอบคอหลอดยาด้วยสําลีชุบ alcohol
6) สวมหัวเข็มสําหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา บิด
พอประมาณ
2) เลื่อยรอบคอหลอดยาพอเป็นรอยโดยคลี่สําลีชุบalcoholรองหลังคอหลอดยา
7) ถอดปลอกเข็มออกจับหลอดยาด้วยมือข้างที่ไม่ถนัดถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างที่ถนัด ระวังมิให้เข็มสัมผัสกับด้านนอก
1) ทําความสะอาดรอบคอหลอดยาและใบเลื่อยด้วยสําลีชุบalcohol70%
11) ถ้าเตรียมยาสําหรับฉีดผู้ป่วยหลายคนหรือหลายชนิดพร้อมกัน ควรวําง กระบอกฉีดยาที่เตรียมยาแล้วบนถาดที่มีผ้าสะอาดปูรองและแนบการ์ดยาไว้เพื่อป้องกันการนํายาผิด ชนิดไปฉีดให้ผู้ป่วย
8) เอียงหลอดยาให้ปลายตัดเข็มจุ่มในน้ํายา ดูดยาตามจํานวนที่ต้องการ
10) เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะสมสําหรับการฉีดยานั้นๆ
9) ตรวจสอบชื่อยาบนหลอดยาอีกครั้งหนึ่งก่อนทิ้งหลอดยา
ตําแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
การแทงเข็มถ้าใช้เข็มยาว5/8นิ้วให้แทงเข็มทํามุม45องศาถ้าใช้เข็มยาว1⁄2 นิ้ว ให้แทงเข็มทํามุม 90 องศา
การฉีดheparinไม่ต้องทดสอบว่าปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
ทําผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็มหรือการใช้นิ้วมือจับรวบเนื้อเยื่อบริเวณที่จะฉีดเข้า หากัน แต่วิธีหลังนี้จะไม่ใช้ในการฉีด heparin
กํารฉีดheparinและinsulinห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดยําแล้ว
ตําแหน่งสําหรับฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
2) บริเวณส่วนกลางของหน้าขา
3) บริเวณหน้ําท้องที่อยู่ระหว่างแนวใต้ชายโครงกับแนวของ anterior
superior iliac spine ยกเว้นบริเวณรอบสะดือ 1 นิ้ว เพราะมี pain receptor มาก
1) บริเวณต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
4) บริเวณสะบัก
การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง
ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นมาถ้าไม่มีตุ่มนูนแสดงว่าฉีดลึกเข้าไปในชั้นใต้ผิวหนัง
แทงเข็มทํามุม5-15องศากับผิวหนังโดยหงายปลายตัดเข็มขึ้นและแทงเข้าไป
6.ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยา
ผิวหนังให้ตึง
7.ใช้ปากกาลูกลื่นหมึกสีน้ำเงินหรือดำ เขียนรอบรอยนูนที่เกิดจากการฉีดยาและบอกผู้ป่วยไม่ให้ลบรอยหมึกที่เขียนไว้ จนกว่าจะอ่านผลเรียบร้อยแล้ว
ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาจนหมดก่อนฉีดยา
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
5) ยึดหัวเข็มและกระบอกฉีดยาให้มั่นคงด้วยมือ ข้างท่ีไม่ถนัด และใช้มือข้างถนัดดึงลูกสูบขึ้นเล็กน้อย ถ้าไม่มีเลือดเข้ามาในกระบอกฉีดยา ให้ใช้นิ้วหัวแม่มือข้างถนัดดันลูกสูบเดินยําช้าๆ
6) เมื่อยาหมดให้ใช้สําลีกดตําแหน่งแทงเข็มขณะที่ถอนเข็มออกด้วยความรวดเร็ว
4) แทงเข็มด้วยความเร็วและมั่นคงแทงเข็มทํามุม90องศา
7) คลึงบริเวณฉีดยาเบา ๆ เพื่อช่วยให้ยาดูดซึมได้เร็วขึ้นและลดอาการเจ็บปวดได้ ด้วย (ยกเว้นยาท่ีมีส่วนประกอบของโลหะหนัก)
8) ปลดเข็มออกจากกระบอกฉีดยาแยกเข็มฉีดยาทิ้งในชามรูปไตหรือภาชนะ สําหรับทิ้งเข็มโดยเฉพาะเพื่อนําเข็มไปทําลํายต่อไป
9) จัดเสื้อผ้าผู้ป่วยให้เรียบร้อย และจัดให้อยู่ในท่าที่สบาย (ถ้าเป็นผู้ป่วยนอก ควรให้ ผู้ป่วยพักเพื่อสังเกตอาการประมาณ 15 นาที)
3) ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างถนัด ส่วนมือข้างไม่ถนัดทําผิวหนังบริเวณฉีดยาให้
ตึง โดยใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้กางออกขณะกดลงบนผิวหนัง
2) ถอดปลายเข็มออก จับกระบอกฉีดยาต้ังข้ึน ไล่อากาศ
1) ทําความสะอาดผิวหนังบริเวณท่ีจะฉีดยาด้วยสําลีชุบ alcohol70% โดยหมุนออก จากจุดที่จะแทงเข็มให้เป็นวงกว้างประมําณ 2-3 นิ้ว ปล่อยให้ alcoholแห้ง
ล้างมือให้สะอาด
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
วางแผนการพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
4.ปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินสภาพ
การประเมินผล