Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
รูปแบบการบริหารยา
Right patient/client (ถูกคน)
Right drug (ถูกยา)
ครั้งแรก ก่อนหยิบภาชนะใส่ยาออกจากที่เก็บ
ครั้งที่สอง ก่อนเอายาออกจากภาชนะใส่ยา
ครั้งที่สาม ก่อนเก็บภาชนะใส่ยาเข้าที่หรือก่อนทิ้งภาชนะใส่ยา
Right dose (ถูกขนาด)
Right time (ถูกเวลา)
Right route (ถูกวิถีทาง)
Right technique (ถูกเทคนิค)
Right documentation (ถูกการบันทึก)
Right to refuse คือการตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยในการจัดการยา
Right History and assessment คือการซักประวัติ และการประเมินอาการก่อน-หลังให้ยา
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation คือการที่จะต้องให้ยาร่วมกัน
Right to Education and Information คือก่อนที่พยาบาลจะให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้ง ชื่อยาที่จะให้ ทางที่จะให้ยา ผลการรักษา ผลข้ำงเคียงของยาที่อาจจะเกิด และอาการที่ต้องเฝ้าระวัง ก่อน การให้ยาทุกครั้ง
หลักสำคัญในการให้ยา
ลงบันทึกการให้ยาหลังจากให้ยาทันที
มีการประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
ต้องให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาลเพื่อป้องกันผู้ป่วยไม่ได้รับยา ยกเว้นยาบางชนิด
สังเกตอาการก่อนและหลังการให้ยา
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการให้ยาและผลข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้น
ในกรณีที่ให้ยผิดต้องรีบรายงานให้พยาบาลหัวหน้าเวรรับทราบเพื่อหาทางแก้ไข
ตรวจสอบผู้ป่วยก่อนให้ยา
ไม่ให้ยาที่ฉลากมีการลบเลือนไม่ชัดเจน
ไม่ควรเตรียมยาค้างไว้
ตรวจสอบวันหมดอายุของยา
ตรวจสอบประวัติการแพ้ยา
ก่อนให้ยาต้องทราบวัตถุประสงค์การให้ยา การวินิจฉัยโรค ผลของยาที่ต้องการให้เกิดและฤทธิ์ ข้างเคียงของยา
ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ก่อนให้ยาทุกครั้ง
การให้ยาทางปากใช้หลักสะอาด และการฉีดยาใช้หลัก aseptic technique
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การประเมินสภาพ
ประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อดูหน้าที่การทำงานของ ตับ ไต
การได้รับสารน้ำเพียงพอหรือไม่
ประวัติการแพ้ยา
ความรู้ความเข้าใจเรื่องยาที่ได้รับ
ประเมินดูว่าผู้ป่วยมีข้อห้ามในการให้ยาทางปากหรือไม่
การปฏิบัติตัวในการได้รับยา
การวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการสำลักเนื่องจาก
ขาดความรู้เกี่ยวกับยาเนื่องจาก
การกลืนบกพร่อง เนื่องจาก
การวางแผนการพยาบาล
การตั้งเกณฑ์การประเมินของแต่ละข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ไม่เกิดอาการสำลัก
สามารถรับยาได้จนครบ
ไม่มีอาการไม่พึงประสงค์
ไม่มีอาการแพ้ยา
ผลของยามีประสิทธิภาพ
การวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยา
ดูแลให้ได้รับยา………….ตำมแผนการรักษา
ช่วยให้ได้รับประทานยา…………..ให้ครบตามแผนการรักษา
การปฏิบัติการพยาบาล
โดยยึดหลัก ความถูกต้อง 7 ประการ
บันทึกหลังการให้ยา
คำนึงถึงบทบาทพยาบสลในการให้ยา
ปฏิบัติตามหลักกำรบริหารยาที่ลงมือปฏิบัติจริง
การประเมินผล
ประเมินดูว่าเป็นไปตามเกณฑ์ การประเมินที่ตั้งไว้ในขั้นตอนการวางแผนหรือไม่
สามารถบอกการปฏิบัติตัวขณะได้รับยาได้ถูกต้อง
สามารถอธิบายวัตถุประสงค์ของการให้ยาได้ถูกต้อง
หลังจากได้รับยา 30 นาที ไม่มีอาการแพ้ยา
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
ฉีดวัคซีนบีซีจีเพื่อป้องกันวัณโรค
ให้วิตามินเพื่อ บำรุงร่างกายให้แข็งแรง
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
ให้กลืนแป้งเบเรี่ยม ซัลเฟต แล้วเอ็กซเรย์เพื่อตรวจดูสภาพของ กระเพาะอาหารและลำไส้
การฉีดไอโอดีนทึบรังสีเข้ำทางหลอดเลือดดำ เพื่อถ่ายภาพเอ็กซเรย์ดูการเคลื่อนขับสารทึบรังสีที่ออกจากไตแต่ละข้าง
เพื่อการรักษา
รักษาเฉพาะโรค
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
รักษาตามอาการ
ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้ำย NPO และเขียนระบุว่ำ NPO เพื่อผ่ำตัดหรือเจาะเลือดเช้า
กรณีคำสั่งสารน้ำ+ยำ B co 2 ml ให้เขียนคำว่า +ยาB co 2 ml ด้วยปากกำเมจิก
เวรบ่าย พยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบ MAR กับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกัน
การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยาเนื่องจากความผิดพลาดด้านบุคคลโดยเฉพาะยาน้ำ
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบช้ำก่อนให้ยา
เมื่อมีคำสั่งใหม่ หัวหน้าเวร ลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
การแจกยาไล่แจกยาตำมเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยา
การซักประวัติ
ให้ยึดหลัก 6R ตามที่กล่าวมาข้างต้น
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาในครั้งแรก พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
ภาวะจิตใจ
ภาวะสุขภาพ
กรรมพันธุ์
ทางที่ให้ยา
เพศ
เวลาที่ให้ยา
อายุและน้ำหนักตัว
สิ่งแวดล้อม
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
การให้ยาเฉพาะที่
ข้อปฏิบัติ
การสูดดม สามารถให้โดยการพ่นยาเข้าสู่ทางเดินหายใจ เพื่อให้ยาไปสู่บริเวณที่ต้องการให้ยาออกฤทธิ์
การให้ยาทางตา
วิธีใช้ยา
ถามชื่อ-สกุลผู้ป่วย แจ้งผู้ป่วยให้ทราบเกี่ยวกับยา
อุ่นยาให้มีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิกาย
ล้างมือให้สะอาด
ให้ผู้ป่วยนอนหรือนั่งแหงนหน้ำมองขึ้นข้ำงบน และพยาบาลดึงเปลือกตาล่างข้างที่จะหยอดยาลง
หยอดยาตาตามจำนวนหยด
หลับตาพร้อมทั้งใช้มือกดเบา ๆ
ซับส่วนที่เกินออก อย่าขยี้ตา
หากจำเป็นต้องหยอดยาหลายชนิดในช่วงเวลาเดียวกันให้เว้นช่วงระยะเวลา 5 นาที
วิธีใช้ยาป้ายตา
นอนหรือนั่งแหงนหน้า เหลือบตาขึ้นข้างบน ใช้มือดึงหนังตาล่างให้เป็นกระพุ้ง
บีบยาลงในกระพุ้งตา โดยเริ่มจำกหัวตา ระวังอย่าให้ปลำยหลอดแตะกับตาหรือเปลือกตา
ล้างมือให้สะอาด
หลับตา กลอกตาไปมำ หรือใช้นิ้วมือคลึงเบาๆ เพื่อให้ยากระจายได้ทั่ว
ถามชื่อ-สกุลผู้ป่วย แจ้งผู้ป่วยให้ทราบเกี่ยวกับยา
หากจำเป็นต้องหยอดยาหลายชนิดในช่วงเวลาเดียวกันให้เว้นช่วงระยะเวลา 5 นาที
วิธีใช้ยาล้างตา
ล้างมือ ล้างหน้าให้สะอาด
ล้างถ้วยล้างตาด้วยน้ำสบู่ เช็ดให้แห้ง หรือใช้น้ำร้อนลวกก็ได้
ถามชื่อ-สกุลผู้ป่วย
ตรวจดูน้ำยาล้างตา
รินน้ำยาล้างตาเต็มถ้วย ก้มศีรษะเอาตาจุ่มลงถ้วยนั้น
ลืมตาในน้ำยาล้างตา กลอกไปมาสักพัก ก้มศีรษะลง ยกถ้วยล้างตาออก
การให้ยาทางหู
วิธีการ
ถามชื่อ-สกุลผู้ป่วย ตรวจสอบให้ตรงกับใบ MAR แจ้งผู้ป่วยให้ทราบเกี่ยวกับยา
อุ่นยาให้มีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิกาย
ล้างมือและทำความสะอาดใบหูด้วยผ้าชุบน้ำ เช็ดให้แห้ง
เอียงหู หรือนอนตะแคง ให้หูข้างที่จะหยอดอยู่ด้านบน
ดูดยาและหยอดยาตามจำนวนหยด
เอียงหูข้างนั้นไว้ 2-3 นาที หรือใช้สำลีอุดหูไว้ 5 นาที
หากต้องการหยอดหูทั้ง 2 ข้างให้ทำซ้ำเหมือนเดิม
การหยอดยาจมูก
ให้ผู้ป่วยเงยหน้าขึ้น
พยาบาลยกปีกจมูก ผู้ป่วยข้างที่จะหยอดยาขึ้นเบาๆ
หยดยาผ่านทำงรูจมูกห่างประมาณ 1-2 นิ้ว
จากนั้นให้ผู้ป่วยอยู่ในท่า เดิมประมาณ 5 -10 นาที เพื่อป้องกันยาไหลย้อนออกมา
การเหน็บยา
วิธีการเหน็บยาทางทวารหนัก
ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงข้าง ซ้าย
พยาบาลใส่ถุงมือสะอาด
ยกแก้มก้นผู้ป่วยขึ้นจนเห็นรูทวารหนักชัดเจน
สอดใส่เม็ดยาเข้าไป แล้วใช้นิ้วชี้ดันยาพร้อมเขี่ยเม็ดยาให้กระดกขึ้นเพื่อชิดผนังทวารหนัก
ลึกประมาณ 3-4 นิ้ว หรือเข้าไปจนสุดนิ้วชี้
วิธีการเหน็บยาทางช่องคลอด
ทำ ความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก แล้วให้ผู้ป่วยนอนหงาย
พยาบาลใส่ถุงมือปราศจากเชื้อ
ใส่เม็ดยาหรือแท่งเข้าไปทางช่องคลอด
ลึกประมาณ 2-3 นิ้ว หรือจนเกือบสุดนิ้วชี้
การให้ยาทางปาก
ยาชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
ยาจิบแก้ไอควรให้ภายหลังรับประทานยาเม็ดแล้ว
การให้ยาเม็ดในเวลาเดียวกัน สามารถรวมกันได้
ยาลดกรดในกระเพาะอาหารควรให้อันดับสุดท้ำย
ยาที่ระคายเคืองทางเดินอาหารให้กินหลังอาหารหรือนม
ยาอมใต้ลิ้น
อุปกรณ์
น้ำเปล่า หรือ น้ำส้ม หรือน้ำหวานแทนน้ำ
ถาดหรือรถใส่ยา
ถ้วยยา หรือ Syringe
แบบบันทึกการให้ยา
การพยาบาลเพื่อให้ยาได้ถูกหลักการ
ดูชื่อยา ขนำดยา เวลาที่ให้ใน MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย
เตรียมยาให้ตรงกับ MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย
ดูเบอร์เตียง ชื่อ นามสกุล ผู้ป่วยใน MAR ให้ตรงกัน
อ่านฉลากยาให้ตรงกับ MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย ดูวันที่หมดอายุ
เทยา หรือรินยาให้ได้ตรงตามจำนวนกับขนาดของยาน MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย
การเตรียมยาตามขั้นตอน
ยาชนิด Unit dose (ยาที่จัดมาเป็นแบบวันต่อวัน)
ยาชนิด Multidose ค่อยๆ เทยาจากซองยาหรือขวดที่บรรจุยาหรือ Foil โดยที่ไม่ให้ มือสัมผัสยา
ยาน้ำ ให้หันป้ายยาหรือฉลากยาเข้าหาฝ่ามือ เพื่อป้องกันยาหกเปื้อนป้ายยา
ดูชื่อ ขนาดยาให้ตรงกับใบ MAR อีกครั้งก่อนเก็บยาเข้าที่
ให้ผู้ป่วยรับประทานยาตรงตามเวลาในใบ MAR
ดูเบอร์เตียง ถามชื่อ -สกุลผู้ป่วยให้ตรงกับใบ MAR
แจกยาให้ผู้ป่วยรับประทานภายในเวลาที่กำหนด
ประเมินสัญญำณชีพผู้ป่วยก่อนให้ยา
ให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาล
สังเกตการเปลี่ยนแปลงหลังรับประทานยาเพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันท่วงที
บันทึกในแผนการพยาบาลและในใบ MAR ทุกครั้งหลังให้ยา
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ
สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้ำงเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่ำงถูกต้อง
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ และเป็นไปตามหลักเวชจริยศาสตร์
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจำเป็น
สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่างต่อเนื่อง
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา
ประเมินอาการข้างเคียงจากการใช้ยา
ประเมินอาการที่ดีขึ้นหรือเลวลง
การประเมินประวัติโรคประจำตัว
ติดตามความร่วมมือในการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง
การส่งต่อ
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
วิถีทางการให้ยา
O= รับประทานทางปาก subling =อมใต้ลิ้น M =เข้ำกล้ำมเนื้อ
Inhal =ทางสูดดม SC =เข้าชั้นใต้ผิวหนัง Nebul= พ่นให้สูดดม
V =เข้ำหลอดเลือดดำ Supp =เหน็บ / สอด ID= เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
instill =หยอด
เวลาการให้ยา
a.c.= ante cibum= ก่อนอาหาร
p.c.=post cibum =หลังอาหาร
h.s.= hora somni= ก่อนนอน
p.r.n.= pro re nata= เมื่อจำเป็น
stat statim =ทันทีทันใด
ความถี่การให้ยา
OD = omni die= วันละ 1 ครั้ง
bid = bis in die =วันละ 2 ครั้ง
tid =ter in die= วันละ 3 ครั้ง
qid =quarter in die= วันละ 4 ครั้ง
q 6 hrs= quaque 6 hora= ทุก 6 ชั่วโมง
ระบบการตวงวัดยา
ระบบอโพทีคารี
ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน
20 เกรน (grain) = 1 สครูเปิล (scruple)
3 สครูเปิล (scruple) = 1 แดรม (dram)
8 แดรม (dram) = 1 ออนซ์ (ounce)
12 ออนซ์ (ounce) = 1 ปอนด์ (pound)
ระบบเมตริก
ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
1 ลิตร = 1000 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 กิโลกรัม
= 1000 กรัม (gm)
1 กรัม
= 1000 มิลลิกรัม (mg)
1 มิลลิกรัม * = 1000 ไมโครกรัม (mcg)
1 กรัม = 1 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
การเปลี่ยนหน่วย ระบบอโพทีคารี เป็น ระบบเมตริก
15 เกรน (grain) =1 กรัม (gram) gm
1 เกรน (grain) = 60 มิลลิกรัม (mg)
1 แดรม (dram)= 4 มิลลิลติร (ซี.ซี.)
1 แดรม =4 กรัม
1 ออนซ์ * =30 กรัม (30 ซี.ซี.)
1 ปอนด์ =450 กรัม
2.2 ปอนด์= 1000 กรัม (1 กิโลกรัม)
ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน
มีหน่วยที่ใช้เป็น หยด ช้อนชำ ช้อนโต๊ะ ถ้วยชำ และถ้วยแก้ว
15 หยด
= 1 มิลลิลติร (ซี.ซี.)
1 ช้อนชา
= 5 มิลลิลติร (ซี.ซี.)
1 ช้อนหวาน = 8 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนโต๊ะ * =15 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยชำ =180 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยแก้ว =240 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
คำสั่งแพทย์
คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป
คำสั่งใช้ภายในวันเดียว
คำสั่งที่ต้องให้ทันที
คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
ชื่อของผู้ป่วย
วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
ชื่อของยา
ขนาดของยา
วิถีทางการให้ยา
เวลาและความถี่ในการให้ยา
ลายมือผู้สั่งยา
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
ชื่อยา – ขนาด – จำนวน – ทางที่ให้ – ความถี่
ทางผิวหนัง
ดูดซึมเข้าร่างกายทางผิวหนัง
ทางกล้ามเนื้อ
ดูดซึมเข้า ร่างกายทางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นกล้ามเนื้อ
ยาที่ละลายในน้ำ (aqueous solution) เท่านั้น
ทางเยื่อบุ
ดูดซึมเข้ำทาง เยื่อบุสู่ระบบไหลเวียนของเลือดบริเวณอวัยวะนั้น
ทางชั้นผิวหนัง
ดูดซึมเข้า ร่างกายทางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นผิวหนัง
ยาที่ละลายในน้ำ (aqueous solution) เท่านั้น
ทางสูดดม
ดูดซึมทางระบบ ทางเดินหายใจ
ชนิดสเปรย์ พ่นทางสายให้ ออกซิเจน
ทางหลอดเลือดดำ
เข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดโดยตรง
ยาที่ละลายในน้ำ (aqueous solution) เท่านั้น
ทางปาก (oral)
ยาจะดูดซึมทางระบบทางเดิน อาหารและลำไส้
ทางใต้ผิวหนัง
ดูดซึมเข้าระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นใต้ผิวหนัง
สารละลาย (Aqueous solution) เท่านั้น
คำนวณขนาดยา
การคำนวณยำเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา
หลักการคำนวณ
ควมมเข้มข้นของยา (ในแต่ละส่วน) = ขนาดความเข้มข้นของยาที่มีหารปริมานยาที่มี
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา
สั่งยาผิดขนาด
สั่งยาผิดชนิด
ผิดวิถีทาง
ผิดความถี่
สั่งยาที่มีประวัติแพ้
ลายมือไม่ชัดเจน
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา
ที่หอผู้ป่วย
ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์
ที่เภสัชกรรม
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา
จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคำสั่งใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
การให้ยาซึ่งผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง
การให้ยาผู้ป่วยผิดคน
การให้ยาผิดชนิด
การให้ยาผิดขนาด
การให้ยาไม่ครบ
การให้ยาผิดวิถีทาง
การให้ยาผิดเวลา
การให้ยามากกว่าจำนวนครั้งที่สั่ง
การให้ยาในอัตราเร็วที่ผิด
การให้ยาผิดเทคนิค
การให้ยาผิดรูปแบบยา