Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure) - Coggle Diagram
ผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
(Heart Failure)
สาเหตู
มีความผิดปกติของโครงสร้างหัวใจ เกิดการรั่วไหลของเลือด มรเลืดใน ventricle มากขึ้น เลือดไปปอดมาก หัวใจทำงานเพิ่มขึ้น
กลุ่ม Lt to Rt shunt - VSD ASD PDA
กลุ่มมีการรั่วของลิ้นหัวใจ - Rheumatic Heart Disease
กลุ่มที่มีเลือดไปปอดมากขึ้น - TGA
มีความผิดปกติของหัวใจ หัวใจทำงานมากขึ้น ความดันใน ventricle สูงกว่าปกติ
กลุ่มที่มีการอุดกั้นการไหลเวียนที่ ventricle - AS,PS,CoA
กลุ่มที่มีแรงต้านทานการไหลเวียนของเลือดออกจาก ventricle มากขึ้น - Systemic hypertension, primary pulmonary hypertension
มีความผิดปกติที่เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจลดลง จากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง
จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ ทำให้เลือดออกจากหัวใจลดลง
กลไกการเกิด Heart Failure
Sympathetic : กระตุ้นระบบ sympathetic ทำให้ Catecholamine หลั่ง ทำให้หัวใจเต้นเร็ว กล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวแรงขึ้น มีการหดตัวของหลอดเลือดดำ ทำให้เลือดไหลกลับสู่หัวใจมากขึ้น
Renin-angiotensin-angiotensin-aldosterone system: เมื่อเลือดไปเลื้ยงไตลดลง ไตจะตอบสนองด้วยการกระตุ้นระบบนี้ให้ทำงานมากขึ้น มีการหลั่ง ADH เพิ่มขึ้น ทำให้มีการดูดกลับของน้ำที่ไตเพิ่มขึ้น
การเพิ่มขนาดของกล้ามเนื้อหัวใจ เพื่อชดเชยการทำงานของหัวใจ cell กล้ามเนื้อหัวใจมีขนาดใหญ่ขึ้น ทำให้หัวใจโตขึ้น ผนังหนาขึ้น เพื่อให้บีบตัวได้แรงกว่าปกติ
การขยายตัวของหัวใจ โดยผนังกล้ามเนื้อของ ventricle ยืดขยายออกเพื่อรับปริมาณเลือดที่เพิ่มขึ้น ทำให้ความดันใน ventricle สูง
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
CXR
EKG
Echocardiography
การรักษา
ยากลุ่ม Digitalis glycosides – digoxin (Lanoxin)
ยากลุ่ม Beta–adrenergic receptor blocking agent
Propranolol
ยาขยายหลอดเลือด Vasodilator – Hydralazine (Apresoline)
ยา ACEI – Angiotensin- converting enzyme inhibitors เช่น Captoril, enalapril
ยาขับปัสสาวะ เช่น Furosemide (Lasix), Thiazides,
Aldactone
ลดอาหารเค็ม บางรายต้องจำกัดน้ำ/โซเดียมในแต่ละวัน เพื่อลดการคั่งของน้ำในหลอดเลือด ให้ได้ร้อยละ 60-80 ของปริมาณความต้องการปกติ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ภาวะปอดบวมน้ำ จะเหนื่อยหอบมากต้องให้ออกซิเจน
รักษาสาเหตุของภาวะหัวใจวาย
การพยาบาล
จำกัดกิจกรรม ดูแลให้พักผ่อนเต็มที่ ให้การพยาบาลนุ่นนวลและรวดเร็ว
เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา เพื่อช่วยให้ปอดขยายเต็มที่ และลดปริมาณเลือดดำที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาเพื่อประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษาในรายที่เหนื่อยหอบ เพื่อเพิ่มออกซิเจนในเลือด
ดูแลให้ได้รับอาหารรสจืดเพื่อลดการสะสมของน้ำและโซเดียมในร่างกาย
Record I/O ชั่งน้ำหนัก เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของสมดุลน้ำ
ดูแลให้ได้รับอาหารแคลอรี่สูง เพื่อทดแทนอัตราการเผาผลาญพลังงานที่สูงกว่าปกติ
ดูแลให้ดูดนมทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง ถ้าในรายที่เหนื่อยมาก ควรงดการดูดนม พร้อมรายงานแพทย์ให้ feed อาหารทางสายยาง
ให้การดูแลที่ป้องกันการติดเชื้อ
ดูแลให้รับยาที่ถูกต้องและสังเกต S/E ของยา