Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
วัตถุประสงค์ของกํารให้ยามี 3 ประการ
เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ เช่นฉีดวัคซีนบีซีจีเพื่อป้องกันวัณโรคให้วิตามินเพื่อบำรุงร่างกายให้แข็งแรง
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค เช่น ให้กลืนแป้งเบเรี่ยม ซัลเฟต แล้วเอ็กซเรย์เพื่อตรวจดูสภาพของ กระเพาะอาหารและลําไส้หรือการฉีดไอโอดีนทึบรังสีเข้าทางหลอดเลือดดํา (Intravenous pyelography : IVP) เพื่อถ่ายภาพเอ็กซเรย์ดูการเคลื่อนขับสารทึบรังสีที่ออกจากไตแต่ละข้าง
เพื่อการรักษํา เป็นกํารให้ยําเพื่อรักษาตามสาเหตุของโรค หรือช่วยให้ผู้ป่วยบรรเทา ทุเลา และ
หายจากอาการหรือโรคที่เป็นอยู่ สามารถแบ่งเป็น
รักษาเฉพาะโรค เช่น ยาฆ่าเชื้อในผู็ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อ
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด เช่นผู้ป่วยเป็นโลหิตจางเพราะขาดธาตุเหล็ก ให้ได้รับเฟอรัส ซัลเฟต
รักษาตามอาการ เช่น อาการปวด ให้ได้รับ
ยาบรรเทาอาการปวด ให้ของเพื่อบรรเทา
อาการคลื่นไส้อาเจียน เป็นต้น
ให้ร่างกายปฎิบัติหน้าที่ตามปกติ เช่น หัวใจเร็วเกินไป อาจได้รับยาจิทาลิส
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
ยาที่ผู้ป่วยได้รับแต่ละคน จะออกฤทธิ์ไม่เท่ากัน แม้จะได้ขนาดที่เท่ากัน มีปัจจัยหลายประการที่ พยาบาลต้องคํานึงถึง ดังนี้
เพศ
ผู้ชํายมีขนําดตัวใหญ่กว่าผู้หญิง น้ําหนักย่อมมํากกว่า ถ้าได้รับยาขนสดเท่ากัน ยาจะมี ปฏิกิริยําต่อผู้หญิงมากกว่าผู้ชายนอกจํากนี้ผู้หญิงมีไขมันมากกว่าและมีของเหลวในร่างกายน้อยกว่าผู้ชาย ยาบางชนิดละลายในไขมันได้ดี บสงชนิดละลายในน้ําได้ดี ปฏิกิริยาของยาจึงต่างกัน
กรรมพันธุ์
บางคนอําจมีความไวผิดปกติต่อยาบางชนิด บางคนแพ้ยาง่ายซึ่งอําจเกิดจาก พันธุกรรม
อายุและน้ําหนักตัว
เด็กเล็กๆ
ผู้สูงอายุ
ภาวะจิตใจ
เช่น ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับยรดคมีบําบัดบางรายมีอาการคลื่นไส้ อําเจียน มาก โดยมีสําเหตุมาจากจิตใจ เป็นการตอบสนองแบบมีเงื่อนไขจากการเรียนรู้และจดจําประสบการณ์ที่ไม่ ดีจากการได้รับยาเคมีบําบัดครั้งก่อน
ภาวะสุขภาพ
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหรือมีอาการป่วย เมื่อได้รับยาจะมีผลต่อการแสดงออกของฤทธิ์ ยาต่างจากคนปกติ
ทางที่ให้ยา
ยาที่ให้ทํางหลอดเลือดจะดูดซึมได้เร็วกว่ายาที่ให้รับประทานทางปาก
เวลาที่ให้ยา
ยาบางชนิดต้องให้เวลาที่ถูกต้องยาจึงออกฤทธิ์ตามที่ต้องกําร เช่น ยาปฏิชีวนะ บางชนิดต้องให้ก่อนอาการจึงจะดูดซึมได้ดี
สิ่งแวดล้อม
ยาที่รักษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางชนิด ต้องให้ผู้ป่วยอยู่ในที่สงบ เพื่อจะได้ พักผ่อน
ระบบการตวงวัดยา
พยาบาลจะต้องทราบระบบการตวงวัดยา เพื่อสามารถคํานวณขนาดของยาได้ถูกต้องกรณีที่แพทย์ สั่งยาในระบบหนึ่ง แต่วิธีการให้ หรือการตวงยา ชั่ง วัดยาเป็นอีกระบบหนึ่ง ระบบการตวงวัดยาที่พบใน ปัจจุบัน ได้แก่ ระบบอโพทีคารี ระบบเมตริก และระบบมาตรตวงวัดประจําบ้าน รายละเอียด
ระบบอโพทีคารี ถ้าเป็นน้ําหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน
ระบบเมตริก ถ้าเป็นน้ําหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
การให้ยาแก่ผู้ป่วย แพทย์จะต้องรับผิดชอบในการเขียนคําสั่งการให้ยาเป็นลายลักษณ์อักษร พยาบาล เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดยา เตรียมยาและนําไปให้ผู้ป่วยโดยตรง พยาบาลจะต้องช่วยให้ผู้ป่วย ได้รับยําถูกต้องตามการรักษา และช่วยมิให้ผู้ป่วยได้รับอันตรายจากการให้ยา ในกรณีเร่งด่วนหรือภาวะ ฉุกเฉินแพทย์อาจสั่งการรักษาด้วยปากหรือทางโทรศัพท์หลังจากที่พ้นภาวะวิกฤติแล้ว พยาบาลต้องให้ แพทย์เขียนคําสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรทันที หากเป็นกํารสั่งคําสั่งการรักษาทางโทรศัพท์พยาบาลจะต้อง เขียนคําสั่งด้วยตนเองพร้อมทั้งเวลาและชื่อของแพทย์ผู้สั่งการรักษาและให้แพทย์เซ็นชื่อกำกับทันทีเมื่อ แพทย์มาบนหอผู้ป่วย
คําสั่งใช้ภายในวันเดียว (Single order of order for one day) เป็นคําสั่งที่ใช้ได้ใน 1 วัน เมื่อได้ให้ยาไปแล้วเมื่อครบก็ระงับไปได้เลย
คําสั่งที่ต้องให้ทันที (Stat order) เป็นคําสั่งการให้ยาครั้งเดียวและต้องให้ทันที เช่น Diclofenac 1 amp M stat เมื่อปฏิบัติเสร็จแล้วยกเลิกได้
คําสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป (Standing order / order for continuous) เป็นคําสั่งที่ สั่งครั้งเดียวและใช้ได้ตลอดไปจนกว่าจะมีคําสั่งระงับ (discontinue) หรือบางครั่งแพทย์อาจระบุวันที่ระงับ ยาไว้เลยก็ได้ เช่น การให้ยาปฎิชีวนะ
คําสั่งที่ให้เมื่อจําเป็น (prn order) เป็นคําสั่งที่กําหนดไว้ให้ปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยมีอาการ บางอย่างเกิดขึ้น เช่น มีไข้ ปวดแผล ชัก เป็นต้น ซึ่งพยาบาลจะต้องใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจ คําสั่งการ รักษานี้อาจกําหนดไว้ใน order for continuous หรือ order for one day ก็ได้
ส่วนประกอบของคาสั่งการรักษา
4) ขนาดของยท
5) วิถีทางการให้ยา
3) ชื่อของยา
6) เวลาและความถี่ในการให้ยา
2) วันที่เขียนคําสั่งการรักษา
7) ลายมือผู้สั่งยา
1) ชื่อของผู้ป่วย จะต้องเขียนทั้งชื่อและนามสกุลของผู้ป่วยห้ามเขียนแต่ชื่อเพียงอย่รงเดียว เพราะว่าอาจเกิดความผิดผิดพลาดเกิดขึ้นได้หํากมีชื่อซ้ำกัน แต่ในปัจจุบันจะเป็นป้ายชื่อสติ๊กเกอร์ที่พิมพ์ออก จากเครื่องพิมพ์แล้วปิดแทนกํารเขียนเพื่อความสะดวกและป้องกันการผิดพลาด
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวข้องกับคำสั่งการให้ยาได้
คําสั่งแพทย์ในกํารรักษาส่วนใหญ่ใช้เป็นคําย่อและสัญลักษณ์ พยาบาลจึงจําเป็นต้องทราบความหมาย โดยคําย่อที่ใช้บ่อยมีดังนี้
ความถี่การให้ยา
bid
bis in die
วันละ 2 ครั้ง
tid
ter in die
วันละ3ครั้ง
คำย่อ OD
ภาษาละติน omni die
วันละ1ครั้ง
did
quarter in die
วันละ 4 ครั้ง
q 6 hrs
quaque 6 hora
วันละ 5 ครั้ง
วิธีทางการให้ยา
m
เข้ากล้ามเนื้อ
sc
เข้าชั้นใต้ผิวหนัง
o
รับประทานทางปาก
v
เข้าหลอดเลือดดำ
ID
เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
เวลาการให้ยา
h.s.
hora omni
ก่อนนอน
p.r.n.
pro re nata
เมื่อจำเป็น
p.c.
post cibum
หลังอาหาร
stat
static
ทันทีทันใด
a.c.
ante cibum
ก่อนอาหาร
รูปแบบการบริหารยา
Right time (ถูกเวลา) คือการให้ยาถูกหรือตรงเวลา โดยการให้ยาตรงตามเวลาหรือความถี่ ตามคําสั่งการให้ยา การให้ผู้ป่วยรับประทานยาที่สัมพันธ์กับมื้ออาหารอย่างไม่เหมาะสมจะทําให้ ระดับยา ในกระแสเลือดสูงหรือตำ่กว่าที่ควรจะเป็น ดังนั้นการให้ยาควรให้ถูกเวลาเพื่อการออกฤทธิ์ที่เหมาะสมที่สุด ได้แก่
4.1 การให้ยาก่อนอาหาร เพื่อไม่ต้องการให้ยาได้สัมผัสกับอาหาร ดังนั้นการให้ยาก่อน อาหารควรให้ยาก่อนอาหารอย่างน้อย 1⁄2 ชั่วโมงหรือหลังอําหํารไปแล้ว 2 ชั่วโมงหรือรับประทานยาตอน ท้องว่าง
4.2 การให้ยาหลังอาหารเป้าหมายเพื่อให้ยาได้สัมผัสกับอาหารเพื่อช่วยเรื่องการดูดซึม ดังนั้น การให้ยาต้องให้หลังอาหารทันทีจนถึง 2 ชั่วโมงหลังอาหาร หรือให้ในกรณีที่ยามีผลระคายเคือง กระเพาะอาหารซึ่งอาหารจะช่วยลดการระคายเคืองได้
4.3 การให้ยาช่วงใดก็ได้คืออาหารไม่มีผลต่อการดูดซึมดังนั้นจึงให้ช่วงเวลาใดก็ได้
4.4 การให้แบบกําหนดเวลาหรือให้เฉพาะกับอาหารที่เฉพาะ เช่น การให้พร้อมกับอาหาร คําแรก ห้าม รับประทานพร้อมนม การให้ขณะนั่งหัวสูงเป็นเวลา 30 นาที เป็นต้น
Right drug (ถูกยา) คือการให้ยาถูกชนิด โดยการอ่านชื่อยาอย่างน้อย 3 ครั้ง
ครั้งที่สอง
ก่อนเอายาออกจากภาชนะใส่ยา
ครั้งที่สาม
ก่อนเก็บภาชนะใส่ยาเข้าที่หรือก่อนทิ้งภาชนะใส่ยา
ครั้งแรก
ก่อนหยิบภาชนะใส่ยาออกจากที่เก็บ
Right dose (ถูกขนาด) คือการให้ยาถูกขนาด โดยการจัดยาหรือคํานวณยาให้มีขนาดและ ความเข้มข้นของยาตามคําสั่งการให้ยา
เป็นการประกันว่า ผู้ป่วยได้รับขนาดยาโดยรวมเป็นไปตามที่แพทย์ ต้องการและขนาดยาที่ผู้ป่วยได้รับมีความสอดคล้องหรือเหมาะสมกับโรคหรืออาการของผู้ป่วย การให้ยา ขาดหรือเกินจํากขนาดที่แพทย์สั่ง จะส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับยาไม่ครบตามแผนการรักษาเป็นความคาด เคลื่อนที่พบบ่อย
Right patient/client (ถูกคน) คือการให้ยาถูกคน หรือถูกตัวผู้ป่วย โดยการเช็คชื่อผู้ป่วยทุก
ครั้งก่อนให้ยาหรือก่อนฉีดยาเทียบกับใบ Medication administration record
Right technique (ถูกเทคนิค) คือการให้ยาถูกตามวิธีการ ใช้เทคนิคที่เหมาะสม โดยการ เตรียมยาและให้ยาที่ถูกต้องยึดหลักการปลอดเชื้อสําหรับยารับประทานทางปาก และหลักการปราศจาก เชื้อสําหรับยาฉีด มีการประเมินค่าความดันโลหิตสําหรับยาที่แพทย์สั่งให้ประเมินก่อน หรือการบดยาที่ต้อง ค่อยๆปลดปล่อยตัวยา
Right route (ถูกวิถีทาง) คือการให้ยาถูกทาง โดยการให้ยาแก่ผู้ป่วยตามที่แพทย์สั่งการรักษา เป็นการประกันว่าผู้ป่วยได้รับยาสอดคล้องกับวิถีการบริหารยา
Right documentation (ถูกกํารบันทึก) คือการบันทึกการให้ยาที่ถูกต้อง โดยพยาบาลลง นามในเวลาเดียวกับที่ให้ยากับผู้ป่วยในเอกสารที่ได้กําหนดไว้ เพื่อให้ข้อมูลการให้ยาเป็นปัจจุบัน และ
Right to refuse คือการตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยในการจัดการยา ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะปฏิเสธการใช้ยาหากเขามีความสามารถในการทำเช่นนั้น ในกรณีที่ผู้ป่วยปฏิเสธการรับยา พยาบาลต้องให้คําอธิบายถึงผลที่เกิดขนึ้ ของการไม่รับยา ให้ผู้ป่วยได้รับทราบในทุกด้าน
Right History and assessment คือการซักประวัติ และการประเมินอาการก่อน-หลังให้ยา โดยการสอบถามข้อมูล/ ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยทุกครั้งก่อนการให้ยา ควรมีกํารทดสอบ Skin test ในกรณีทผู้ป่วยได้รับยา Antibiotic ทาง IV เป็นครั้งแรก เพื่อจะได้สังเกตอาการและปฏิกิริยาที่ เกิดขึ้นกับผู้ป่วยก่อนการให้ยา
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation คือการที่จะ ต้องให้ยาร่วมกัน จะต้อง ดูก่อนว่ายานั้นสามารถให้ร่วมกันได้ไหม เมื่อให้ร่วมกันจะมีผลทําให้ยาออกฤทธิ์มากขึ้นหรือน้อยลง หรือมี ผลต่อประสิทธิภาพยา ระยะเวลาที่ยาคงอยู่ในร่างกายเป็นอย่างไร พยาบาลควรมีความรู้ ความตระหนัก ความเข้าใจในเรื่องของปฏิกิริยาต่อกันของยา
Right to Education and Information คือก่อนที่พยาบาลจะให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้ง ชื่อยาทจี่ะให้ทางที่จะให้ยาผลการรักษาผลข้างเคียงของยาที่อาจจะเกิดและอาการที่ต้องเฝ้าระวังก่อน
การให้ยาทุกครั้ง ผู้ป่วยและญาติมีสิทธิที่จะได้รับรู้ในเรื่องของยาที่ต้องได้รับ พยาบาลจึงต้องอธิบายให้ ผู้ป่วย/ ญาติได้รับรู้ควํามเข้าใจในการแพ้ยาของผู้ป่วยเพื่อช่วยกันในกํารสร้างความปลอดภัยในการให้ยา
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
การให้ยาทางปาก หมายถึง การให้ยาที่สามารถรับประทานทางปากได้ ซึ่งอาจเป็นชนิดยาเม็ด
ยาแคปซูลยาผง หรือยาน้ํา นับว่าเป็นวิธีที่ง่าย สะดวก และปลอดภัยที่สุด ไม่ควรให้ยําทางปากในผู้ป่วยที่ คาสายให้อาหารสู่กระเพาะ
ยาชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
ยาจิบแก้ไอควรให้ภายหลังรับประทานยาเม็ดแล้วเพื่อให้ยาค้างอยู่ที่คอไม่ถูกน้ําล้างออก
การให้ยาเม็ดในเวลาเดียวกัน สามารถรวมกันได้ ส่วนยาน้ําให้แยกใส่แก้วยาต่างหาก
ยาลดกรดในกระเพาะอาหารควรให้อันดับสุดท้ายเพื่อช่วยลดอาการระคายเคืองและ
เคลือบผนังของหลอดอาหารและกระเพาะ
ยาที่ระคายเคืองทางเดินอาหารให้กินหลังอาหารหรือนม(ยกเว้นยาพวกTetracyclineไม่ ควรให้ผู้ป่วยรับประทานพร้อมนม)
ยาอมใต้ลิ้น เช่น ไนโตรกลีนเซอลีน (Nitroglycerine) ไอซอร์ดิล (Isodril) ที่ใช้รักษา
อาการเจ็บหน้ําอกจากการขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เป็นต้น ควรให้หลังจากรับประทานยาทุกชนิด แล้ว และแนะนําให้ห้ามกลืนหรือเคี้ยวยา รอจนกว่ายาละลายหรือดูดซึมเข้าใต้ลิ้นเอง ยาจะออกฤทธิฤใน 15-30 นาที ระหว่างนี้ให้ผู้ป่วยนั่งและนอนพักขณะที่อมยา
อุปกรณ์ในการให้ยาทางปาก
2) น้ําเปล่า หรือ น้ําส้ม หรือน้ําหวํานแทนน้ํา (หากไม่มีข้อห้าม)
3) ถาดหรือรถใส่ยา
1) ถ้วยยาหรือSyringe
4) แบบบันทึกการให้ยา
การพยาบาลเพื่อให้ยาได้ถูกหลักการ
2) ดูชื่อยาขนาดยาเวลาที่ให้ในMARของผู้ป่วยแต่ละราย
3) เตรียมยาให้ตรงกับMARของผู้ป่วยแต่ละราย
1) ดูเบอร์เตียงชื่อนํามสกุลผู้ป่วยในMARให้ตรงกัน
4) อ่านฉลากยาให้ตรงกับMARของผู้ป่วยแต่ละรายดูวันที่หมดอายุของยา
5) เทยา หรือรินยาให้ได้ตรงตามจํานวนกับขนาดของยาใน MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
8.2 ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคาสั่งใช้ยา
(2) ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ หมายถึง เจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ ทําหน้ําที่คัดกรองการลง ข้อมูลยาในคอมพิวเตอร์ไม่ครอบคลุม หรือคัดกรองข้อมูลผิดพลาด ทําให้ข้อมูลการรักษาของผู้ป่วยมีความ คลาดเคลื่อน
(3) ที่เภสัชกรรม หมายถึง เจ้าหน้าที่ห้องยา/เภสัชกร อ่านคําสั่งแพทย์ ไม่ถูกต้อง ไม่ตรง ตํามแพทย์สั่ง ส่งผลถึงกํารส่งต่อข้อมูลและการจ่ายยามีความคลาดเคลื่อน
(1) ที่หอ ผู้ป่วย หมายถึง พยาบาลลอกคําสั่งแพทย์หรืออ่านคําสั่งแพทย์ไม่ถูกต้อง ไม่ตรง
ตามแพทย์สั่ง ทําให้ข้อมูลที่คัดลอกไว้นั้นมีความคลาดเคลื่อน อันจะส่งผลกระทบไปถึงการส่งต่อข้อมูลการ รักษา และการบริหารยาผู้ป่วย
8.3 ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา
คือ ความคาดเคลื่อนใน กระบวนการจ่ายยาของกลุ่มงานเภสัชกรรม ที่จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคําสั่งใช้ยา ได้แก่ ผิดชนิดยา รูปแบบยา ความแรงยา ขนาดยา วิธีใช้ยา จํานวนยาที่สั่งจ่าย จ่ายยาผิดตัวผู้ป่วย จ่ายยาที่เสื่อมสภาพ หรือหมดอายุ
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescription error) คือ ความคลาดเคลื่อนที่พบในใบสั่งยา (ใบ Order) อาจเกิดจากแพทย์เขียนผิดพลาด หรือไม่ชัดเจนรวมถึงการเลือกใช้ยาผิด การเลือกขนาดยา
ผิด การเลือกรูปแบบยาผิด กํารสั่งยาในจํานวนที่ผิด
(3) ผิดวิถีทาง หมายถึง เขียนใบสั่งยา สั่งใช้ยาผิดวิถีทาง ทําให้ใช้ยาไม่ถูกวิธี เช่น ยาใช้ ภายนอก แต่นํามาใช้เป็นยาใช้ภายใน ยาสําหรับให้ IV แต่สั่งให้ IM ยาเหน็บแต่นํามาใช้อม เป็นต้น
(4) ผิดความถี่ หมายถึง เขียนใบสั่งยา วิธีรับประทานผิด หรือระบุวิธีรับประทานที่ไม่ เหมาะสมกับผู้ป่วยคนนั้น เช่น Norfloxacin 400 mgtid แทนที่จะเป็น bid เป็นต้น
(2) สั่งยาผิดชนิด หมายถึง เขียนใบสั่งยา สั่งยาคนละชนิดกับที่ควรจะเป็น
(5) สั่งยาที่มีประวัติแพ้ หมายถึง แพทย์สั่งยาที่ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ ทําให้เกิดการแพ้ยาซ้า
(1) สั่งยาผิดขนาด หมายถึง แพทย์สั่งใช้ยาที่มีขนาดมากเกิน Maximum dose
(6) ลายมือไม่ชัดเจน หมายถึง เขียนใบสั่งยาด้วยลายมือที่ทําให้ผู้อ่านเข้าใจผิด อ่านผิด
8.4 ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
คือ การบริหารยาที่ แตกต่างไปจากคําสั่งใช้ยาของผู้สั่งใช้ยาที่เขียนไว้ในใบบันทึกประวัติการรักษาผู้ป่วย หรือความคลาด เคลื่อนที่ทําให้ผู้ป่วยได้รับยาผิดไปจากความตั้งใจในการสั่งยาของผู้สั่งใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคาสั่งใช้ยา
ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ หมายถึง เจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ ทําหน้าที่คัดกรองการลง ข้อมูลยาในคอมพิวเตอร์ไม่ครอบคลุม หรือคัดกรองข้อมูลผิดพลาด ทำให้ข้อมูลการรักษาของผู้ป่วยมีความ คลาดเคลื่อน
ที่เภสัชกรรม หมายถึง เจ้าหน้าที่ห้องยา/เภสัชกร อ่านคําสั่งแพทย์ ไม่ถูกต้อง ไม่ตรง ตามแพทย์สั่ง ส่งผลถึงการส่งต่อข้อมูลและการจ่ายยามีความคลาดเคลื่อน
ที่หอผู้ป่วย หมายถึง พยาบาลลอกคําสั่งแพทย์หรืออ่านคําสั่งแพทย์ไม่ถูกต้อง ไม่ตรง
ตามแพทย์สั่ง ทําให้ข้อมูลที่คัดลอกไว้นั้นมีความคลาดเคลื่อน อันจะส่งผลกระทบไปถึงการส่งต่อข้อมูลการ รักษา และการบริหารยาผู้ป่วย
ความคาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา
สั่งยาผิดขนาด
แพทย์สั่งใช้ยาที่มีขนาดมากเกินหรือสั่งยาในขนาดที่ไม่เหมาะสม
สั่งยาผิดชนิด
เขียนใบสั่งยา สั่งยาคนละชนิดกับที่ควรจะเป็น
ผิดวิถีทาง
เขียนใบสั่งยา สั่งใช้ยาผิดวิถีทาง ทำให้ใช้ยาไม่ถูกวิธี
ผิดความถี่
เขียนใบสั่งยา วิธีรับประทานผิด หรือระบุวิธีรับประทานที่ไม่ เหมาะสมกับผู้ป่วยคนนั้น เช่น Norfloxacin 400 mgtid แทนที่จะเป็น bid เป็นต้น
สั่งยาที่มีประวัติการแพ้
หมายถึง แพทย์สั่งยาที่ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ ทําให้เกิดการแพ้ยาซำ้
ลายมือไม่ชัดเจน
หมายถึง เขียนใบสั่งยาด้วยลายมือที่ทําให้ผู้อ่านเข้าใจผิด อ่านผิด