Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
•ยาที่สามารถรับประทานทางปากได้
•อาจเป็นชนิดยาเม็ด ยาแคปซูล ยาผง หรือยาน ้า
ข้อควรปฎิบัติในการให้ยาทางปาก
2.การให้ยาเม็ดเวลาเดียวกันสามารถรวมกันได้ยาน้ำให้แยกใส่แก้วยาอีกต่างหาก
3.ยาชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
1.ยาที่ระคายเคืองทางเดินอาหารให้กินหลังอาหารหรือนม
4.ยาจิบแก้ไอควรให้หลังรับประทานยาเม็ด
5.ยาลดกรดกระเพาะอาหารควรให้หลังสุดท้าย
6.ยาอมใต้ลิ้นควรให้หลังจากรับประทานยาทุกชนิด
การให้ยาเฉพาะที่
ยาสูดดม
การให้ยาทางตา
การให้ยาทางหู
การหยอดยาจมูก
การเหน็บยา
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
ผู้ป่วยเข้านอนรักษาในครั้งแรกตรวจสอบยาให้ตรงคำสั่งแพทย์
การซักประวัติถามการแพ้ยาทุกครั้งดูสติ๊กเกอร์
เมื่อมีคำสั่งใหม่หัวหน้าเวร ลงคำสั่งในใบMARทุกครั้ง
จัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยาเนื่องจากความผิดพลาดทางบุคคลโดยเฉพาะยาน้ำ
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้ำย NPO และเขียนระบุว่ำ NPO เพื่อผ่ำตัดหรือเจำะเลือดเช้ำ ให้ อธิบำยและแนะน ำผู้ป่วยและญำติทุกครั้ง
เวรบ่ายพยาบาลตรวจสอบรายชื่อให้ตรงกันกับแพทย์สั่งดูยาช่องลิ้นชักยาทุกครั้ง
กรณีค ำสั่งสำรน้ ำ+ยำ B co 2 ml ให้เขียนค ำว่ำ +ยำ B co 2 ml ด้วยปำกกำเมจิก อักษรตัว ใหญ่บนป้ำยสติ๊กเกอร์ของสำรน้ ำให้ชัดเจนเพื่อสังเกตได้ง่ำย
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบช้ ำก่อนให้ยำ ให้ตรวจสอบ 100% เช็คดูตำมใบ MAR ทุกครั้ง
กำรจัดยำจะจัดตำมหน้ำชองยำหลังจำกตรวจสอบควำมถูกต้องแล้ว ในกำรจัดยำที่เป็นค ำสั่ง ใหม่ ผู้จัดจะดูวันที่ที่สั่งยำใหม่หน้ำซองยำในกำรเริ่มยำใหม่ในครั้งแรก พร้อมตรวจดูยำกับใบ MAR อีกครั้ง ว่ำมีตรงกันหรือไม่ กรณีพบปัญหำไม่ตรงกัน จะไปดูค ำสั่งแพทย์อีกครั้ง
กำรแจกยำไล่แจกยำตำมเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยำและให้พยำบำลตรวจดูยำ ในลิ้นชักของผู้ป่วยทุกเตียงจนเป็นนิสัยและดูผู้ป่วยประจ ำเตียงว่ำมีหรือไม่
ให้ยึดหลัก 6R ตำมที่กล่ำวมำข้ำงต้น
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
สำมำรถให้ข้อมูลที่จ ำเป็นต่อกำรใช้ยำได้อย่ำงเพียงพอ (Provide information)
5.1 ตรวจสอบควำมเข้ำใจและควำมมุ่งมั่นตั้งใจของผู้ป่วย/ผู้ดูแลในกำรจัดกำร เฝ้ำระวังติดตำม และกำรมำตรวจตำมนัด
5.2 ให้ข้อมูลเกี่ยวกับยำที่ชัดเจน เข้ำใจได้ง่ำย และเข้ำถึงได้กับผู้ป่วย/ผู้ดูแล (เช่น ใช้เพื่ออะไร ใช้อย่ำงไร อำกำรข้ำงเคียงที่อำจเกิดขึ้น รำยงำนอย่ำงไร ระยะเวลำของกำรใช้ยำ)
5.3 แนะน ำผู้ป่วย/ผู้ดูแลเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ในเรื่องยำ และกำรรักษำ
5.4 สร้ำงควำมมั่นใจให้ผู้ป่วย/ผู้ดูแล ว่ำจะจัดกำรอย่ำงไรในกรณีที่มีอำกำรไม่ดีขึ้นหรือกำร รักษำไม่ก้ำวหน้ำในช่วงเวลำที่ก ำหนด
5.5 สนับสนุนผู้ป่วย/ผู้ดูแลใหม้ีส่วนรับผิดชอบในกำรจัดกำรตนเองเรื่องยำและภำวะเจ็บป่วย
สำมำรถติดตำมผลกำรรักษำ และรำยงำนผลข้ำงเคียงที่อำจเกิดขึ้นจำกกำรใช้ยำได้ (Monitor and review)
6.2 ต้องมีกำรติดตำมประสิทธิภำพของกำรรักษำและอำกำรข้ำงเคียงที่อำจเกิดขึ้นจำกกำรใช้ยำ
6.3 ค้นหำและรำยงำนอำกำรไม่พึงประสงค์จำกกำรใช้ยำโดยใช้ระบบกำรรำยงำนที่เหมำะสม
6.1 ทบทวนแผนกำรบริหำรยำให้สอดคล้องกับแผนกำรรักษำที่ผู้ป่วยได้รับ
6.4 ปรับแผนกำรบริหำรยำให้ตอบสนองต่ออำกำรและควำมต้องกำรของผู้ป่วย
บริหารยำตำมกำรสั่งใช้ยาได้อย่ำงถูกต้อง
4.2 เข้ำใจกำรสั่งจ่ำยยำของแพทย์ตำมกรอบบัญชียำหลักแห่งชำติ
4.3 ตรวจสอบและค ำนวณกำรใช้ยำให้ถูกต้อง
4.1 เข้ำใจโอกำสที่จะเกิดผลไม่พึงประสงค์จำกกำรใช้ยำ และด ำเนินกำรเพื่อหลีกเลี่ยง/ลดควำม เสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ตระหนักและจัดกำรแก้ไขปัญหำ
4.4 ค ำนึงถึงโอกำสที่จะเกิดกำรใช้ยำผิด (เช่น ผิดขนำด ผิดทำง ผิดวิธี ผิดชนิด)
4.5 ใช้ข้อมูลที่ทันสมัยเกี่ยวกับกำรใช้ยำอย่ำงสมเหตุผล (เช่น กำรเก็บรักษำกำรบรรจุ ฯลฯ)
4.6 ใช้ระบบที่จ ำเป็นเพื่อกำรบริหำรยำอย่ำงมีประสิทธิภำพ (เช่น ใบ MAR)
4.7 สื่อสำรข้อมูลเกี่ยวกับยำและกำรใช้ยำแก่ผู้เกี่ยวข้องเมื่อต้องมีกำรส่งต่อข้อมูลกำรรักษำ
สำมำรถใช้ยำได้อย่ำงปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม (Prescribe
สำมำรถสื่อสำรเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในกำรใช้ยำ โดยพิจำรณำจำกข้อมูลทำงเลือกที่ถูกต้อง เหมำะสมกับบริบทและเคำรพในมุมมองของผู้ป่วย (Reach a shared decision)
3.2 ระบุและยอมรับควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล ค่ำนิยม ควำมเชื่อ และควำมคำดหวัง เกี่ยวกับ สุขภำพและกำรรักษำด้วยยำ
3.3 อธิบำยเหตุผล และควำมเสี่ยง/ประโยชน์ของทำงเลือกในกำรรักษำที่ผู้ป่วย/ผู้ดูแลเข้ำใจได้
3.1 ชี้แจงทำงเลือกในกำรรักษำ ยอมรับในกำรตัดสินใจเลือกแผนกำรรักษำและเคำรพในสิทธิ ของผู้ป่วย/ ผู้ดูแลในกำรปฏิเสธและจ ำกัดกำรรักษำ
3.4 ประเมินควำมร่วมมือในกำรใช้ยำของผู้ป่วยอย่ำงสม่ ำเสมอโดยไม่ด่วนตัดสิน และเข้ำใจ เหตุผลในกำรไม่ร่วมมือของผู้ป่วยที่อำจเกิดขึ้นได้และหำวิธีที่ดีที่สุดในกำรสนับสนุนผู้ป่วย/ผู้ดูแล
3.5 สร้ำงสัมพันธภำพกับผู้ป่วย/ผู้เกี่ยวข้องเพื่อส่งเสริมให้เกิดกำรใช้ยำอย่ำงสมเหตุผลโดยไม่ คำดหวังว่ำกำรสั่งยำนั้นจะเป็นไปตำมที่ต้องกำร 3.5 สร้ำงสัมพันธภำพกับผู้ป่วย/ผู้เกี่ยวข้องเพื่อส่งเสริมให้เกิดกำรใช้ยำอย่ำงสมเหตุผลโดยไม่ คำดหวังว่ำกำรสั่งยำนั้นจะเป็นไปตำมที่ต้องกำร
3.6 ท ำควำมเข้ำใจกับกำรร่วมปรึกษำหำรือก่อนใช้ยำเพื่อผลลัพธ์ที่น ำไปสู่ควำมพึงพอใจของทุก ฝ่ำยที่เกี่ยวข้อง
สำมำรถใช้ยำได้อย่ำงเหมำะสม ตำมควำมรู้ควำมสำมำรถทำงวิชำชีพ และเป็นไปตำมหลักเวชจริย ศำสตร์ (Prescribe professionally)
สำมำรถร่วมพิจำรณำกำรเลือกใช้ยำได้อย่ำงเหมำะสมตำมควำมจ ำเป็น (Consider the options)
2.3 ประเมินควำมเสี่ยงและประโยชน์ของกำรใช้ยำและไม่ใช้ยำ
2.4 ใช้ควำมรู้ด้ำนเภสัชศำสตร์ของยำที่อำจมีกำรเปลี่ยนแปลงได้จำกปัจจัยต่อไปนี้ เช่น พันธุกรรม อำยุ ควำมพร่องของไต กำรตั้งครรภ์ ฯลฯ เพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้เกี่ยวข้องให้เกิดควำมปลอดภัยใน กำรใช้ยำ
2.2 พิจำรณำข้อมูลที่ส ำคัญของผู้ป่วยเพื่อประกอบกำรปรับขนำดยำ หยุดกำรให้ยำหรอื เปลี่ยนยำ
2.5 พิจำรณำโรคร่วม ยำที่ใช้อยู่ กำรแพ้ยำ ข้อห้ำมกำรใช้ยำ และคุณภำพชีวิตที่อำจส่งผล กระทบต่อกำรเลือกใช้ยำ
2.1 พิจำรณำข้อมูลที่ส ำคัญของผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับกำรเลือกใช้ยำหรือกำรรักษำแบบไม่ใช้ยำ ในกำรรักษำและกำรส่งเสริมสุขภำพ
2.6 ค ำนึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกำรใช้ยำของผู้ป่วย เช่น ควำมสำมำรถในกำรกลืนยำศำสนำ และผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นจำกวิธีกำรบริหำรยำ
2.7 พัฒนำควำมรู้ให้เป็นปัจจุบัน ใช้แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ใช้หลักฐำนเชิงประจักษ์และ ค ำนึงถึงควำมคุ้มทุนในกำรพิจำรณำกำรใช้ยำอย่ำงสมเหตุผล
2.8 เข้ำใจเรื่องเชื้อดื้อยำ และแนวทำงกำรป้องกันและควบคุมเชื้อดื้อยำ (antimicrobial
สำมำรถพัฒนำควำมรู้ควำมสำมำรถในกำรใช้ยำ ได้อย่ำงต่อเนื่อง (Improve prescribing
สำมำรถประเมินปัญหำผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับกำรใช้ยำ หรือมีความจ ำเป็นต้องใช้ยำในกำรรักษำ
1.3 ประเมินอำกำรที่ดีขึ้นหรือเลวลง
1.4 ติดตำมควำมร่วมมือในกำรใช้ยำอย่ำงต่อเนื่อง
1.2 ประเมินอำกำรข้ำงเคียงจำกกำรใช้ยำ
1.5 กำรส่งต่อ
1.1 กำรประเมินประวัติโรคประจ ำตัว ประวัติกำรใช้ยำ และประวัติกำรแพ้ยำ/แพ้อำหำร
สำมำรถท ำงำนร่วมกับบุคลำกรอื่นแบบสหวิชำชีพ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกำรใช้ยำอย่ำงสมเหตุผล (Prescribe as part of a team)
10.1 มีส่วนร่วมกบั สหวิชำชีพเพื่อให้มั่นใจว่ำกำรดูแลมีควำมต่อเนื่อง เชื่อมโยงกันในทุกหน่วย โดยไม่ขัดแย้ง
10.2 สร้ำงสัมพันธภำพกับทีมสหวิชำชีพ บนพื้นฐำนของควำมเข้ำใจ ควำมไว้วำงใจและ ยอมรับในบทบำทของสหวิชำชีพ
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การประเมินสภาพ
เช่น งดน้ ำงดอำหำรทำงปำกอยู่ หรือกำรได้รับสำรน้ ำหรือ ให้เลือด สิ่งเหล่ำนี้ท ำให้พยำบำลอำจจะต้องเปลี่ยนวิธีกำรให้ยำ ส ำหรับยำที่ให้ต้องประเมินว่ำอยู่ในสภำพ
การวินิจฉัยการพยาบาล เมื่อรวบรวมข้อมูลจำกกำรประเมินสภำพได้ทั้งหมดแล้วน ำมำจัด หมวดหมู่ข้อมูลที่เป็นปัญหำ
การวางแผนการพยาบาล หลังจำกได้ข้อมูลและปัญหำหรือข้อบ่งชี้ในกำรให้ยำแล้วท ำกำร วำงแผนหำวิธีกำรว่ำจะให้ยำอย่ำงไร
การปฏิบัติการพยาบาล เป็นกำรปฏิบัติกำรให้ยำตำมแผนที่วำงไว้ไปปฏิบัติ โดยยึดหลัก ควำมถูกต้อง 7 ประกำร
การประเมินผล เนื่องจำกยำที่ให้นอกจำกจะมีผลทำงกำรรักษำ แล้วยังอำจท ำให้เกิดปฏิกิริยำ ที่เป็นอันตรำยต่อผู้ป่วยได้ ดังนั้นหลังจำกให้แล้วต้องกลับมำตำมผลทุกครั้ง
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา
ผิดวิถีทาง
ผิดความถี่
สั่งยาผิดชนิด
สั่งยาที่มีประวัติแพ้
สั่งยาผิดขนาด
ลายมือไม่ชัดเจน
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา
ที่หอผู้ป่วย
ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์
ที่เภสัชกรรม
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
การให้ยาผู้ป่วยผิดคน
การให้ยาผิดขนาด
การให้ยาซึ่งผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง
การให้ยาผิดวิถีทาง
การให้ยาผิดชนิด
การให้ยาผิดเวลา
การให้ยาไม่ครบ
การให้ยามากกว่าจำนวนครั้งที่สั่ง
การให้ยาในอัตราเร็วที่ผิด
การให้ยาผิดเทคนิค
การให้ยาผิดรูปแบบยา