Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
เพื่อการรักษา
รักษาเฉพาะโรค เช่น ยำฆ่าเชื้อในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อ
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด เช่น ผู้ป่วยเป็นโลหิตจางเพราะขำดธาตุเหล็ก
รักษาตามอาการ เช่น อาการปวด
ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
อายุและน้ำหนักตัว
เพศ
กรรมพันธุ์
ภาวะจิตใจ
ภาวะสุขภาพ
ทางที่ให้ยา
เวลาที่ให้ยา
สิ่งแวดล้อม
ระบบการตวงวัดยา
ระบบอโพทีคารี ถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน
20 เกรน (grain) = 1 สครูเปิล (scruple)
3 สครูเปิล (scruple) = 1 แดรม (dram)
8 แดรม (dram) = 1 ออนซ์ (ounce)
12 ออนซ์ (ounce) = 1 ปอนด์ (pound)
ระบบเมตริก ถ้าเป็นน้้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
1 ลิตร = 1000 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 กิโลกรัม * = 1000 กรัม (gm)
1 กรัม * = 1000 มิลลิกรัม (mg)
1 มิลลิกรัม * = 1000 ไมโครกรัม (mcg)
1กรัม = 1 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
ระบบมำตราตวงวัดประจำบ้าน มีหน่วยที่ใช้เป็น หยด ช้อนชำ ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว สำมารถเทียบได้กับระบบเมตริก
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
ความถี่การให้ยา
OD omni die วันละ 1 ครั้ง bid bis in die วันละ 2 ครั้ง tid ter in die วันละ 3 ครั้ง qid quarter in die วันละ 4 ครั้ง q 6 hrs quaque 6 hora ทุก 6 ชั่วโมง
วิถีทางการให้ยา
O รับประทำนทำงปาก Mเข้ากล้ามเนื้อ SC เข้ำชั้นใต้ผิวหนัง V เข้ำหลอดเลือดดำ ID เข้ำชั้นระหว่ำงผิวหนัง subling อมใต้ลิ้น Inhal ทำงสูดดม Nebul พ่นให้สูดดม Supp เหน็บ / สอด instill หยอด
เวลาการให้ยา
a.c. ante cibum ก่อนอำหาร p.c. post cibum หลังอำหาร h.s. hora somni ก่อนนอน p.r.n. pro re nata เมื่อจำเป็น stat statim ทันทีทันใด
คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
คำสั่งแพทย์
คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป
คำสั่งใช้ภายในวันเดียว
คำสั่งที่ต้องให้ทันที
คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
ชื่อของผู้ป่วย
วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
ชื่อของยา
ขนาดของยา
วิถีทางการให้ยา
เวลาและความถี่ในการให้ยา
ลำยมือผู้สั่งยา
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
ทางสูดดม (inhalation) ยาที่ใช้พ่นให้ผู้ป่วยสูดดมทางปากหรือจมูก
ทางเยื่อบุ (mucous) ยาที่ใช้สอดใส่หรือหยอดทางอวัยวะต่างๆ
ทางปาก (oral) ยาที่ให้ผู้ป่วยรับประทานทางปาก
ทางผิวหนัง (skin) ยาที่ใช้ทาบริเวณผิวหนังของผู้ป่วย
ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular) ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางกล้ามเนื้อของผู้ป่วย
ทางชั้นผิวหนัง (intradermal) ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางชั้นผิวหนังของผู้ป่วย
ทางหลอดเลือดด า (intravenous) ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำของผู้ป่วย
ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous / hypodermal) ยาที่ใช้ฉีดเข้าที่ใต้ผิวหนังของผู้ป่วย
คำนวณขนาดยา
ควำมเข้มข้นของยา (ในแต่ละส่วน) = ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี
ปริมาณยาที่มี
รูปแบบการบริหารยา
. Right drug (ถูกยา) คือกำรให้ยาถูกชนิด
Right dose (ถูกขนาด) คือการให้ยาถูกขนาด
Right time (ถูกเวลา) คือกำรให้ยาถูกหรือตรงเวลา
การให้ยาหลังอาหาร
การให้ยาช่วงใดก็ได้คืออาหารไม่มีผลต่อการดูดซึม
การให้ยาก่อนอาหาร
การให้แบบกำหนดเวลาหรือให้เฉพาะกับอาหารที่เฉพาะ
Right patient/client (ถูกคน) คือกำรให้ยาถูกคน
Right route (ถูกวิถีทาง) คือกำรให้ยาถูกทาง
Right technique (ถูกเทคนิค) คือการให้ยาถูกตำมวิธีการ
Right documentation (ถูกการบันทึก) คือการบันทึกการให้ยาที่ถูกต้อง
Right to refuse คือกรตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย
Right History and assessment คือการซักประวัติ
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation คือการที่จะต้องให้ยาร่วมกัน
Right to Education and Information คือก่อนที่จะให้ยาต้องแจ้ง ชื่อยาที่จะให้ ทางที่จะให้ยา ผลการรักษา ผลข้างเคียงของยาที่อาจจะเกิด และอาการที่ต้องเฝ้าระวัง ก่อน กำรให้ยาทุกครั้ง
หลักสำคัญในการให้ยา
การให้ยาทางปากใช้หลักสะอาด
ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ก่อนให้ยาทุกครั้ง
ก่อนให้ยาต้องทราบวัตถุประสงค์การให้ยา
ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาจากตัวผู้ป่วยและญาติในกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
ตรวจสอบวันหมดอายุของยา
ไม่ควรเตรียมยำค้างไว้
ไม่ให้ยาที่ฉลากมีกำรลบเลือนไม่ชัดเจน
ตรวจสอบผู้ป่วยก่อนให้ยาโดยกำรถามชื่อและนามสกุลก่อนทุกครั้งหากผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการให้ยาและผลข้ำงเคียงที่อาจจะเกิดขึ้น
ต้องให้ผู้ป่วยรับประทำนยาต่อหน้ำพยาบาลเพื่อป้องกันผู้ป่วยไม่ได้รับยา
ลงบันทึกการให้ยาหลังจากให้ยาทันที
มีการประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
สังเกตอาการก่อนและหลังการให้ยาถ้ามีอาการผิดปกติเกิดขึ้นต้องรีบรายงานแพทย์ทันที
ในกรณีที่ให้ยาผิดต้องรีบรายงานให้พยาบาลหัวหน้าเวรรับทราบเพื่อหาทางแก้ไข