Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.1 การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
4.1 การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
1.2 เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพเช่น ฉีดวัคซีนบีซีจีเพื่อป้องกันวัณโรค ให้วิตามินเพื่อบำรุงร่างกายให้แข็งแรง
1.3 เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค เช่น ให้กลืนแป้งเบเรี่ยม ซัลเฟต แล้วเอ็กซเรย์เพื่อตรวจดูสภาพของกระเพาะอาหรและลำไส้หรือการฉีดไอโอดีนทึบรังสีเข้าทางหลอดเลือดดำ เพื่อถ่ายภาพเอ็กซเรย์ดูการเคลื่อนขับสารทึบรังสีที่ออกจํากไตแต่ละข้าง
1.1 เพื่อการรักษา
2)รักษาเฉพาะโรค เช่น ยาฆ่าเชื้อในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อ
3)ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด เช่นผู้ป่วยเป็นโลหิตจางเพราะขาดธาตุเหล็กให้ได้รับเฟอรัส ซัลเฟต
1)รักษาตามอาการ เช่น อาการปวดให้ได้รับยาบรรเทาอาการปวด
4)ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ เช่น หัวใจเต้นเร็วเกินไป อาจได้รับยาดิจิทาลิส
2.ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
2.4 ภาวะจิตใจ
2.5 ภาวะสุขภาพ
2.3 กรรมพันธุ์
2.6 ทางที่ให้ยา
2.2. เพศ
2.7เวลาที่ให้ยา
2.1 อายุและน้ำหนักตัว
2.8 สิ่งแวดล้อม
3.ระบบการตวงวัดยา
3.1 ระบบอโพทีคารี ถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน
3.2 ระบบเมตริกถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตรมิลลิลิตร
3.3 ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้านมีหน่วยที่ใช้เป็น หยด ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
วิถีทางการให้ยา
เช่น O = รับประทานทางปาก
เวลาการให้ยา
a.c. = ante cibum = ก่อนอาหาร
ความถี่การให้ยา
เช่น OD = omni die = วันละ 1 ครั้ง
คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
5.1 คำสั่งแพทย์
กํารเขียนคำสั่งแพทย์มี4ชนิด ได้แก่
5.1.2คำสั่งใช้ภายในวันเดียว เป็นคำสั่งที่ใช้ได้ใน1 วันเมื่อได้ให้ยาไปแล้วเมื่อครบก็ระงับไปได้เลย
5.1.3 คำสั่งที่ต้องให้ทันที เป็นคำสั่งการให้ยาครั้งเดียวและต้องให้ทันที
5.1.1คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป เป็นคำสั่งที่สั่งครั้งเดียวและใช้ได้ตลอดไปจนกว่าจะมีคำสั่งระงับ
5.1.4 คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น เป็นคำสั่งที่กำหนดไว้ให้ปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยมีอาการบางอย่างเกิดขึ้น เช่น มีไข้
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
3) ชื่อของยา
4) ขนาดของยา
2) วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
5) วิถีทางการให้ยา
6) เวลาและความถี่ในการให้ยา
1) ชื่อของผู้ป่วย
7) ลายมือผู้สั่งยา
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
4)ทางผิวหนัง (skin)
ชนิดโลชั่น (lotion) , ครีม (cream) , ยาขี้ผึ้ง (ointment) , ยาเปียก (paste) หรือยาถูนวด , (inunction) , ยาผงใช้โรย(powder)
5) ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular)
ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางกล้ามเนื้อของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าร่างกายทางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นกล้ามเนื้อ ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะยาที่ละลายในน้ำ (Aqueous solution)เท่านั้น
3) ทางเยื่อบุ (mucous)
ชนิดเม็ด (tablet) ใช้สอด (suppository) ทางช่องคลอด/ทวารหนักหรืออมใต้ลิ้น (sublingual)หรือยาที่ละลายในน้ำ (aqueous solution)ใช้หยอด(instillate)ใช้ล้าง (irrigate)
6) ทางชั้นผิวหนัง (intradermal)
ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางชั้นผิวหนังของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าร่างกายทางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นผิวหนัง ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะยาที่ละลายในน้ำ (Aqueous solution)เท่านั้น
2) ทางสูดดม (inhalation)
ชนิดสเปรย์ (spray) พ่นทํางสํายให้ออกซิเจน(nebulae)
7) ทางหลอดเลือดดำ (intravenous)
ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำของผู้ป่วย โดยเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดโดยตรง ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะยาที่ละลายในน้ำ (aqueous solution) เท่ํานั้น
1) ทางปาก (oral)
ยาเม็ด(tablet) , ยาแคปซูล (capsule) , ยาน้ำเชื่อม (syrup) , อีลิกเซอร์ (elixir) อีมัลชั่น(emulsion) , ยาผง (powder) , ยาน้ำผสม (mixture) , ยาอม (lozenge)
8) ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous /hypodermal)
ยาที่ใช้ฉีดเข้าที่ใต้ผิวหนังของผู้ป่วยโดยดูดซึมเข้าระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นใต้ผิวหนังชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะสารละลาย (Aqueous solution) เท่านั้น
5.2 คำนวณขนาดยา
การคำนวณยาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา มีหลักการรคำนวณดังนี้
ความเข้มข้นของยา (ในแต่ละส่วน) = ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี หารกับ ปริมาณของยาที่มี
รูปแบบการบริหารยา
หลัก 11 ข้อ
Right technique (ถูกเทคนิค) คือการให้ยาถูกตามวิธีการ ใช้เทคนิคที่เหมาะสม
Right documentation (ถูกกำรบันทึก) คือการบันทึกการให้ยาที่ถูกต้อง
Right route (ถูกวิถีทาง) คือการให้ยาถูกทาง
Right to refuse คือการตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยในการจัดการยา
Right time (ถูกเวลา) คือการให้ยาถูกหรือตรงเวลา
Right History and assessment คือการซักประวัติและการประเมินอาการก่อน-หลังให้ยา
Right dose (ถูกขนาด) คือการให้ยาถูกขนาด
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation คือการที่จะต้องให้ยาร่วมกัน
Right drug (ถูกยา) คือการให้ยาถูกชนิด
ครั้งแรก ก่อนหยิบภาชนะใส่ยาออกจากที่เก็บ
ครั้งที่สอง ก่อนเอายาออกจากภาชนะใส่ยา
ครั้งที่สาม ก่อนเก็บภาชนะใส่ยาเข้ำที่หรือก่อนทิ้งภชนะใส่ยา
Right patient/client (ถูกคน) คือการให้ยาถูกคน หรือถูกตัวผู้ป่วย
Right to Education and Information
หลักสำคัญในการให้ยา
ไม่ให้ยาที่ฉลากมีการลบเลือนไม่ชัดเจน
ตรวจสอบผู้ป่วยก่อนให้ยาโดยการถามชื่อและนามสกุลก่อนทุกครั้ง
ไม่ควรเตรียมยาค้างไว
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการให้ยาและผลข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
ตรวจสอบวันหมดอายุของยา
ต้องให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาลเพื่อป้องกันผู้ป่วยไม่ได้รับยา
ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาจากตัวผู้ป่วยและญาติในกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
ลงบันทึกการให้ยาหลังจากให้ยาทันที
ก่อนให้ยาต้องทราบวัตถุประสงค์การให้ยา การวินิจฉัยโรค ผลของยาที่ต้องการให้เกิดและฤทธิ์
ข้างเคียงของยา
มีการประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ก่อนให้ยาทุกครั้ง
สังเกตอาการก่อนและหลังการให้ยาถ้ามีอาการผิดปกติเกิดขึ้นต้องรีบรายงานแพทย์ทันที
การให้ยาทางปากใช้หลักสะอาด และการฉีดยาใช้หลัก aseptic technique
ในกรณีที่ให้ยาผิดต้องรีบรายงานให้พยาบาลหัวหน้าเวรรับทราบเพื่อหาทางแก้ไข
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
7.1 การให้ยาทางปาก
การให้ยาที่สามารถรับประทานทางปากได้ ซึ่งอาจเป็นชนิดยาเม็ด
ยาแคปซูล ยาผง หรือยาน้ำ นับว่าเป็นวิธีที่ง่าย สะดวก และปลอดภัยที่สุด
การเตรียมยาตามขั้นตอน
5) ให้ผู้ป่วยรับประทานยาตรงตามเวลาในใบ MAR
6) ดูเบอร์เตียง ถามชื่อ -สกุลผู้ป่วยให้ตรงกับใบ MAR ของผู้ป่วย
4) ดูชื่อ ขนาดยาให้ตรงกับใบ MAR อีกครั้งก่อนเก็บยาเข้าที
7) แจกยาให้ผู้ป่วยรับประทานภายในเวลาที่กำหนด
8) ประเมินสัญญาณชีพผู้ป่วยก่อนให้ยา
3) ยาน้ำ ให้หันป้ายยาหรือฉลากยาเข้าหาฝ่ามือ ถือแก้วยาให้อยู่ระดับสายตา โดยวางนิ้วหัวแม่มือไว้ที่
ระดับที่ต้องการเพื่อให้เทยาได้ตามจำนวนที่ถูกต้อง ก่อนรินยาต้องเขย่ายาให้เข้ากันก่อน
2) ยาชนิด Multidose ค่อยๆ เทยาจากซองยาหรือขวดที่บรรจุยาหรือ Foil โดยที่ไม่ให้
มือสัมผัสยา
9) ให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาล
1) ยาชนิด Unit dose (ยาที่จัดมาเป็นแบบวันต่อวัน) หยิบยาใส่ถ้วยยาจำนวนตามที่
แพทย์สั่ง
10) สังเกตการเปลี่ยนแปลงหลังรับประทานยาเพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันท่วงที
11) บันทึกในแผนการพยาบาลและในใบ MAR ทุกครั้งหลังให้ยา
7.2 การให้ยาเฉพาะที่
(1) กำรสูดดม (Inhalation) เป็นการให้ยาในรูปของก๊าซ (Gas) ไอระเหย (Vapor) หรือ
ละออง (Aerosol) สามารถให้โดยการพ่นยาเข้าสู่ทางเดินหายใจ
(2) การให้ยาทางตา (Eye instillation) เนื่องจากดวงตาเป็นเนื้อเยื่อที่บอบบางมาก ติด
เชื้อได้ง่าย การใช้ยาบริเวณตสจึงต้องคำนึงถึงความสะอาดเป็นสำคัญ ยาที่ใช้กับตามีทั้งยาหยอดตา ป้ายตา
และยาล้างตา
(3) การให้ยาทางหู(Ear instillation) เป็นการหยอดยาเข้าไปในช่องหูชั้นนอก ยาที่ใช้
เป็นยาน้ำ ออกฤทธิ์เฉพาะเยื่อบุในช่องหู มักเป็นยาชาหรือยาฆ่าเชื้อโรคเฉพาะที่
(4) การหยอดยาจมูก (Nose instillation) ให้ผู้ป่วยเงยหน้าขึ้น และพยาบาลยกปีกจมูก
ผู้ป่วยข้างที่จะหยอดยาขึ้นเบาๆ แล้วหยดยาผ่านทางรูจมูกห่างประมาณ 1-2 นิ้ว จากนั้นให้ผู้ป่วยอยู่ในท่า
เดิมประมาณ 5 -10 นาทีเพื่อป้องกันยาไหลย้อนออกมา
(5) การเหน็บยา เป็นการให้ยาที่มีลักษณะเป็นเม็ด เข้าทางเยื่อบุตามอวัยวะต่าง ๆ
เพื่อให้ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่
5.1) วิธีการเหน็บยาทางทวารหนัก (Rectum suppository)
5.2) วิธีการเหน็บยาทางช่องคลอด (Vaginal suppository)
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
8.3 ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา
8.4 ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
8.2 ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา
8.1 ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
พยาบาลควรปฏิบัติดังนี้
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้าย NPO และเขียนระบุว่า NPO เพื่อผ่าตัดหรือเจาะเลือดเช้า ให้
อธิบายและแนะนำผู้ป่วยและญาติทุกครั้ง
กรณีคำสั่งสารน้้ำ+ยา B co 2 ml ให้เขียนคำว่า +ยา B co 2 ml ด้วยปากกาเมจิก อักษรตัว
ใหญ่บนป้ายสติ๊กเกอร์ของสารน้้ำให้ชัดเจนเพื่อสังเกตได้ง่าย
เวรบ่าย พยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบ MAR กับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกัน และดูยาใน
ช่องลิ้นชักยาอีกครั้ง
การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยาเนื่องจากความผิดพลาดด้านบุคคลโดยเฉพาะยาน้้ำ
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบช้้ำก่อนให้ยา ให้ตรวจสอบ 100% เช็คดูตามใบ
MAR ทุกครั้ง
เมื่อมีคำสั่งใหม่ หัวหน้าเวร ลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยาและให้พยาบาลตรวจดูยา
ในลิ้นชักของผู้ป่วยทุกเตียงจนเป็นนิสัยและดูผู้ป่วยประจำเตียงว่ามีหรือไม่
การซักประวัติจะถามเรื่องการแพ้ยาทุกครั้งดูสติ๊กเกอร์สีแสดงแพ้ยาที่ติดอยู่ขอบ OPD card
ให้ยึดหลัก 6R ตามที่กล่าวมาข้างต้น
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาในครั้งแรก พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์พร้อมกับ
เช็คยาและจำนวนให้ตรงตามฉลากยา หากไม่ตรงให้แจ้งเจ้าหน้าที่ทันที
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ (Provide information)
สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ และเป็นไปตามหลักเวชจริย
ศำสตร์
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจำเป็น
สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยำ ได้อย่างต่อเนื่อง
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา หรือมีความจำเป็นต้องใช้ยาในการรักษา
สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การวินิจฉัยการพยาบาล
การประเมินผล
1.การประเมินสภาพ