Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.1 การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
บทที่ 4.1 การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
วัตถุประสงค์ของการใช้ยา
เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
เพื่อการรักษา
รักษาเฉพาะโรค
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
รักษาตามอาการ
ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ปกติ
ปัจจัยที่มีผลต่อการ ออกฤทธิ์ของยา
ภาวะจิตใจ
ภาวะสุขภาพ
กรรมพันธุ์
ทางยาที่ให้
เพศ
เวลาที่ให้ยา
อายุและน้ำหนัก
สิ่งแวดล้อม
ระบบการตวงวัดยา
ระบบอโพทีคารี
3 scruple = 1 dram
8 dram = 1 ounce
20 grain = 1 scruple
12 ounce = 1 pound
ระบบเมตริก
1 กิโลกรัม = 1000กรัม
1 กรัม = 1000 มิลลิกรัม
1 ลิตร = 1000 มิลลิลิตร
1มิลลิกรัม=1000 ไมโครกรัม
1กรัม=1มิลลิตร
ระบบมาตราวัดประจำบ้าน
1 ช้อนหวาน = 8 มิลลิลิตร(ซีซี)
1 ช้อนชา = 5 มิลลิลิตร(ซีซี)
15 หยด = 1มิลลิลิตร(ซีซี)
คำย่อและสัญญาลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการใช้ยา
ความถี่ในการให้ยา
tid : วันละ 3 ครั้ง
qid : วันละ 4 ครั้ง
bid : วันละ 2 ครั้ง
OD : วันละ 1 ครั้ง
q 6 hr : ทุก 6 ชั่วโมง
วิถีการให้ยา
V : เข้าหลอดเลือดดำ
ID : เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
SC : เข้าชั้นใต้ผิวหนัง
subling : อมใต้ลิ้น
M : เข้ากล้ามเนื้อ
Inhal : ทางสูดดม
O : รับประทานทางปาก
Nebul : พ่นให้สูดดม
Supp : เหน็บ/สอด
instill : หยอด
เวลาการให้ยา
h.s. = ก่อนนอน
p.r.n. = เมื่อจำเป็น
p.c. = หลังอาหาร
stat = ทันทีทันใด
a.c. = ก่อนอาหาร
คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
คำนวณยา
ความเข้มข้นของยา= ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี/ปริมาณยาที่มี
คำสั่งแพทย์
การเขียนคำสั่งแพทย์มี 4ชนิด
คำสั่งใช้ภายในวันเดียว(Single order of order for one day)
คำสั่งที่ต้องให้ทันที(Stat order)
คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป(Standing order/ order for continuous)
คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น (prn order)
ส่วนประกอบของการคำสั่งการรักษา
ชื่อของยา
ขนาดของยา
วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
วิถีทางการให้ยา
ชื่อของผู้ป่วย
ลายมือผู้สั่งยา
เวลาและความถี่ในการให้ยา
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
แพทย์จะเขียนคำสั่งการให้ยาเป็นรูปแบบเดียว
ชื่อยา - ขนาด - จำนวน - ทางที่ให้ - ความถี่
ทางปาก(oral)
ยาจะดูดซึมทางระบบทางเดินอาหารและลำไส้
ชนิด
ยาเม็ด(tablet)
ยาแคปซูล(capsule)
ยาน้ำเชื่อม(syrup)
อีลิกเซอร์(elixir)
อีมัลชั่น(emulsion)
ยาผง(powder)
ยาน้ำผสม(mixture)
ยาอม(lozenge)
ทางสูดดม (inhalation)
โดยดูดซึมทางระบบทางเดินหายใจ
ชนิด
สเปรย์(spray)
พ่นทางสายให้ออกซิเจน(nebulae)
ทางเยื่อบุ (mucous)
ยาที่ใช้สอดใส่/ หยอดทางอวัยวะต่างๆ
โดยดูดซึมเข้าทางเยื่อบุสู่ระบบไหลเวียนของเลือดบริเวณอวัยวะ
ชนิด
เม็ด(tablet)
สอด(suppository) ทางช่องคลอด/ทวาร
อมใต้ลิ้น(sublingual)
ยาที่ละลายในน้ำ (aqueous solution)
หยอด(instillate)
ใช้ล้าง(irrigate)
ทางผิวหนัง(skin)
ยาใช้ทาบริเวณผิวหนัง
โดยดูดซึมเข้าร่างกายทางผิวหนัง
ชนิด
ยาขี้ผึ้ง(ointment)
ยาเปียก(paste)
ครีม(cream)
ยาถูนวด(inunction)
โลชั่น(Lotion)
ยาผงใช้โรย(powder)
ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular)
ดูดซึมเข้าทางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นกล้ามเนื้อ
ชนิดของการปรุงยา คือ ยาที่ละลายน้ำเท่านั้น
ทางชั้นผิวหนัง (intradermal)
ดูดซึมเข้าทางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นผิวหนัง
ชนิดของการปรุงยา คือ ยาที่ละลายน้ำเท่านั้น
ทางหลอดเลือดดำ (intravenous)
ฉีดเข้าหลอดเลือดดำของผู้ป่วยเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดโดยตรง
ชนิดของการปรุงยา คือ ยาที่ละลายน้ำเท่านั้น
ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous)
ใช้ฉีดเข้าที่ใต้ผิวหนังดูดวึมเข้าระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นใต้ผิวหนัง
ชนิดของการปรุงยา คือ ยาที่ละลายน้ำเท่านั้น
รูปแบบการบริหารยา
หลักการบริหารยา
(Drug administration)
Right time(ถูกเวลา)
ควรให้ยาถูกเวลาเพื่อการออกฤทธิ์ที่เหมาะสม
Right route(ถูกวิถีทาง)
Right technique (ถูกเทคนิค)
Right documentation(ถูกการบันทึก)
Right to refuse
การตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยในการจัดยา
Right dose(ถูกขนาด)
Right History and assessment
การซักประวัติ การประเมินอาการก่อน-หลังให้ยาโดยการสอบถามข้อมูล
Right drug (ถูกยา)
การให้ยาถูกชนิดโดยการอ่านชื่อยาอย่างน้อย3ครั้ง
ครั้งที่สอง ก่อนเอายาออกจากภาชนะใส่ยา
ครั้งที่สาม ก่อนเก็บภาชนะใส่ยาเข้าที่/ก่อนทิ้งภาชนะใส่ยา
ครั้งแรก ก่อนหยิบภาชนะใส่ยาออกจากที่เก็บ
Right Drud-Drug Interaction and Evaluation
การที่จะต้องให้ยาร่วมกัน
Right patient/client (ถูกคน)
Right to Education and Information
ก่อนที่พยาบาลจะให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้ง
ชื่อยา
ทางที่จะให้ยา
ผลการรักษา
ผลข้างเคียงของยาที่อาจเกิด
หลักสำคัญในการให้ยา
ไม่ควรเตรียมยาค้างไว้
ไม่ให้ยาที่ฉลากมีการลบเลือนไม่ชัดเจน
ตรวจสอบวันหมดอายุของยา
ตรวจสอบผู้ป่วยก่อนให้ยาโดยการถามชื่อและนามสกุลก่อนทุกครั้ง
ตรวจสอบประวัติการแพ้ยา
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการใช้ยาและผลข้างเคียง
ก่อนให้ยาจ้องทราบวัตถุประสงค์การใช้ยา วินิจฉัย ผลของยา
ต้องให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาลเพื่อป้องกันผู้ป่วยไม่ได้รับยา
ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ก่อนให้ยาทุกครั้ง
ลงบันทึกการให้ยาหลังจากให้ยาทันที
การให้ยาทางปากใช้หลักสะอาด ฉีดยาใช้หลัก aseptic technique
มีการประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
สังเกตอาการก่อนและหลังการใช้ยาที่ให้
ในกรณีที่ให้ยาผิดต้องรีบรายงานให้พยาบาลหัวหน้าเวรรับทราบ
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
การให้ยาทางปาก
ข้อควรปฏิบัติ
ชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
ยาจิบแก้ไอควรให้ภายหลังรับประทานยาเม็ด
การให้ยาเม็ดในเวลาเดียวกัน สามารถรวมกันได้ ส่วนยาน้ำให้แยกใสแก้วต่างหาก
ยาลดกรดในกระเพาะอาหารควรให้อันดับสุดท้าย
ยาที่ระคายเคืองทางเดินอาหารให้กินหลังอาหารหรือนม
ยาอมใต้ลิ้นควรให้หลังจากรับประทานยาทุกชนิด15-30นาที
อุปกรณ์ในการให้ยาทางปาก
น้ำเปล่า / น้ำส้ม / น้ำหวานแทนน้ำ (หากไม่มีข้อห้าม)
ถาด /รถใส่ยา
ถ้วยยา หรือ syringe
แบบบันทึกการให้ยา
การพยาบาลเพื่อให้ยาได้ถูกหลักการ
เตรียมยาให้ตรงกับMARของผู้ป่วยแต่ละราย
อ่านฉลากยาให้ตรงกับMAR ของผู้ป่วยแต่ละราย ดูวันที่หมดอายุ
ดูชื่อยา ขนาดยา เวลาที่ให้MARของผู้ป่วยแต่ละวัน
เทยาหรือ รินยาให้ได้ตรงตามจำนวนกับขนาดยา
ดูเบอร์เตียง ชื่อ นามสกุล ผู้ป่วยในMARให้ตรงกัน
การเตรียมยาตามขั้นตอน
ยาชนิด Unit dose(ยาที่จัดมาเป็นแบบวันต่อวัน)
หยิบยาใส่ถ้วยยาจำนวนตามที่แพทย์สั่ง
ยาชนิด Multidose
ค่อยๆเทยาจากซองยา/ขวดที่บรรจุโดยไม่ให้มือสัมผัสยา
ยาน้ำ
ให้หันป้ายยา/ฉลากยาเข้าหาฝ่ามือ
การให้ยาเฉพาะที่
การให้ยาทางหู (Ear instillation)
ล้างมือ ทำความสะอาดใบหูด้วยผ้าชุบน้ำ
เอียง / นอนตะแคงให้หูที่หยอดอยู่ด้านบน
ดูดยา หยอดยาตามจำนวน ดึงใบหูขึ้นปละไปข้างหลัง
เอียงหูข้างนั้นนาน2-3นาที
การหยอดยาจมูก
(Nose instillation)
ให้ผู้ป่วยเงยหน้าขึ้นพยาบาลยกปีกจมูกของผู้ป่วย
หยอดยาผ่นทางรูจมูกห่าง1-2นิ้ว
จากนั้นให้ผู้ป่วยนอนในท่าเดิม5-10นาที เพื่อป้องกันยาไหลย้อนออกมา
การให้ยาทางตา (Eye instillation)
ยาหยอดยา
อุ่นยาให้มีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิกายโดยหมุนขวดไปมาระหว่างอุ้งมือนาน2นาที
ดึงเปลือกตาล่าง หยอดยาตาตามจำนวนไปบริเวณ conjunctiva sac ห่างประมาณ1-2นิ้ว
ล้างมือ จากนั้นใช้สำลีชุบNSS เช็ดหัวตาไปหางตา
หลับตาใช้มือกดเบาๆที่ข้างจมูกบริเวณหัวตา
ซับส่วนที่เกินออก อย่าขยี้ตา
ยาป้ายตา
ล้างมือให้สะอาด นอน เหลือตาขึ้นด้านบน ดึงหน่งตาล่างให้เป็นกระพุ้ง
บีบยาลงกระกระพุ้งตาเริ่มจากหัวตา
หลับตา กลอกตาไปมา
ยาล้างตา
ล้างมือ ล้างถ้วยล้างตาด้วยน้ำสบู่ เช็ดให้แแห้ง
รินน้ำยาล้างตาเต็มถ้วย ก้มศีรษะเอาตาจุ่มลงถ้วยนั้น กดถ้วยให้แน่น เงยหน้าขึ้นโดยไม่ให้น้ำยาหก
ลืมตาในน้ยาล้างตา กลอกไปมาสักพัก ก้มศีรษะลง ยกเว้นล้างตาออก
การเหน็บยา
วิธีการเหน็บยาทางทวารหนัก (Rectum suppository)
ผู้ป่วยนอนตะแคงข้างซ้าย พยาบาลใส่ถุงมือ ยกแก้มก้นผู้ป่วยขึ้นจนเห็นรูทวาร
จึงสอดใส่เม็ดยาเข้าไป แล้วใช้นิ้วชี้ดันยาพร้อมเขี่ยเม็ดยาให้กระดกขึ้น
ให้ยาเข้าไปลึกประมาณ 3-4 นิ้ว หรือเข้าจนสุดนิ้วชี้
วิธีเหน็บยาทางช่องคลอด (Vaginal suppository)
ควรทำหลังจากทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
แล้วให้ผู้ป่วยนอนหงาย พยาบาลใส่ถุงมือ สอดเม็ดยา/แท่งเข้าไปช่องคลอด
นิ้วชี้ดันยาเข้าไปลึกประมาณ 2-3 นิ้ว หรือจนเกือบสุดนิ้วชี้
การสูดดม(Inhalation)
ให้ยาในรูปของก๊าซ ไอระเหย ละออง
สามรถพ่นยาเข้าสู่ทางเดินหายใจ
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งยา (Transcribing error)
ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์
เจ้าที่ทำหน้าที่คัดกรอการลงข้อมูลยาในคอมไม่ครอบคลุม
ที่เภสัชกรรม
เจ้าหน้าที่ห้องยา/เภสัชกรอ่านคำสั่งแพทย์ไม่ถูกต้อง
ที่หอผู้ป่วย
พยาบาลลอกคำสั่งแพทย์/อ่านคำสั่งแพทย์ไม่ถูกต้อง
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration error)
การใช้ยาซึ่งผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง (Unordered or unauthorized drug)
การให้ยาผู้ป่วยผิดคน(Wrong patient)
การให้ยาผิดชนิด (Wrong drug error)
การให้ยาผิดขนาด(Wrong-dose)
การให้ยาไม่ครบ (Omission error)
การให้ยาผิดวิถีทาง(Wrong-route error)
การให้ยาผิดเวลา(Wrong-time error)
การให้ยามากกว่าจำนวนครั้งที่สั่ง(Extra-dose error)
การให้ยาในอัตราที่เร็วผิดปกติ (Wrong rate of administration error)
การให้ยาผิดเทคนิค (Wrong technique error)
การให้ยาผิดรูปแบบยา(Wrong dosage - form error)
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งยา (Prescription error)
ผิดวิถีทาง
ผิดความถี่
สั่งยาผิดชนิด
สั่งยาที่มีประวัติแพ้
สั่งยาผิดขนาด
ลายมือไม่ชัดเจน
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing error)
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยาของกลุ่มงานเภสัชกรรมที่จ่ายาไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคำสั่งใช้ยา
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
กรณีผู้ป่วยNPO ให้มีป้ายNPO เพื่อผ่าตัด/เจาะเลือดเช้า
กรณีคำสั่งสารน้ำ+ยาB co2ml ให้เขียน +ยาB co2ml
เวรบ่าย พยาบาลตรวจสอบรายการยาในใบMARกับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกัน
การจัดยาจะจัดตามหน้าซองยาหลังจากตรวจสอบตวามถูกต้องแล้ว
ระมัดระวังในการจัดยา
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบซ้ำก่อนให้ยา
เมื่อมีคำสั่งใหม่ หัวหน้าเวร ลงคำสั่งในใบMAR ทุกครั้ง
การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยา
การซักประวัติ จะถามเรื่องการแพ้ยาทุกครั้ง
ให้ยึดหลัก6R
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาครั้งแรก พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงคำสั่งแพทย์
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การวางแผนการพยาบาล
หลังจากได้ข้อมูลและปัญหาทำการวางแผนหาวิธีการว่าจะให้ยาอย่างไรผู้ป่วยจึงจะได้ยาถูกต้อง ครบถ้วย และไม่เป็นอันตราย
การปฏิบัติการพยาบาล
เป็นการปฏิบัติการให้ยาตามแผนที่วางไว้ไปปฏิบัติโดยยึดหลักความถูกต้อง7ประการ
การวินิจฉัยการพยาบาล
เมื่อรวบรวมข้อมูลจากการปรพเมินสภาพนำมาจัดหมวดหมู่ข้อมูลที่เป็นปัญหา
ประเมินผล
หลังจากให้ยาแล้วต้องกลับมาตามผลทุกครั้ง
เพื่อดูผลของยาต่อผู้ป่วยทั้งด้านการรักษา
ผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ รวมถึงการแพ้ยาด้วย
การประเมินสภาพ
ประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การได้รับสารน้ำเพียงพอหรือไม่
ประวัติการแพ้ยา
ความรู้ความเข้าใจเรื่องยาที่ได้รับ
ประเมินผู้ป่วยมีจ้อห้ามในการให้ยาทางปากหรือไม่
การปฏิบัติตัวในการได้รับยา
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Competencies of nurses for Rational Drug Use)
5 สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ
6 สามารถติดตามผลการรักษา
4 บริหารยาตามการสั่งยาได้ย่างถูกต้อง
7 สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วยและไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
3 สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา
8 สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพและเป็นไปตามหลักเวชจริยศาสตร์
2 สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจำเป็น
9 สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยาได้อย่างต่อเนื่อง
1 สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา
10 สามารถททำงานร่วมกับบคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุสามผล