Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
ภาวะสุขภาพ
ทางที่ให้ยา
กรรมพันธุ์
เวลาที่ให้ยา
เพศ
อายุและน้ำหนักตัว
สิ่งแวดล้อม
ภาวะจิตใจ
ระบบการตวงวัดยา
ระบบอโพทีคารี
20 เกรน (grain) = 1 สครูเปิล (scruple)
3 สครูเปิล (scruple) = 1 แดรม (dram)
8 แดรม (dram) = 1 ออนซ์ (ounce)
12 ออนซ์ (ounce) = 1 ปอนด์ (pound)
ระบบเมตริก
1 ลิตร = 1000 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 กิโลกรัม * = 1000 กรัม (gm)
1 กรัม * = 1000 มิลลิกรัม (mg)
1 มิลลิกรัม * = 1000 ไมโครกรัม (mcg)
1 กรัม = 1 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน
15 หยด *= 1 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนชา *= 5 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนหวาน = 8 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนโต๊ะ * = 15 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยชา = 180 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยแก้ว = 240 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
เพื่อกำรป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภำพ
ฉีดวัคซีนบีซีจีเพื่อป้องกันวัณโรค
ให้วิตามินเพื่อบำรุงร่างกายให้แข็งแรง
เพื่อกำรตรวจวิเครำะห์โรค
การฉีดไอโอดีนทึบรังสีเข้ำทางหลอดเลือดดำ (Intravenous pyelography : IVP) เพื่อถ่ายภาพเอ็กซเรย์ดูการเคลื่อนขับสารทึบรังสีที่ออกจากไตแต่ละข้าง
เพื่อการรักษา
รักษาเฉพาะโรค
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
รักษาตามอาการ
ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
การให้ยาทางปาก
การให้ยาที่สามารถรับประทานทางปากได้ ซึ่งอาจเป็นชนิดยาเม็ด ยาแคปซูล ยาผง หรือยาน้ำ นับว่าเป็นวิธีที่ง่าย สะดวก และปลอดภัยที่สุด
ไม่ควรให้ยำทำงปำกในผู้ป่วยที่คำสำยให้อำหำรสู่กระเพำะ (NG tube) หรือผู้ป่วยที่มีอำกำรอำเจียน ไม่รู้สึกตัว
การให้ยาเฉพาะที่
การให้ยาโดยผ่านทางเยื่อเมือกของอวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง
รักษาหรือบรรเทาอาการเฉพาะที่
เป็นการให้ยาภายนอกเฉพาะตำแหน่ง
รูปแบบการบริหารยา
หลักการพื้นฐาน 7 ประการ
Right dose (ถูกขนาด)
Right route (ถูกวิถีทาง)
Right time (ถูกเวลา)
Right technique (ถูกเทคนิค)
Right drug (ถูกยา)
ครั้งแรก ก่อนหยิบภาชนะใส่ยาออกจากที่เก็บ
ครั้งที่สอง ก่อนเอายาออกจากภาชนะใส่ยา
ครั้งที่สาม ก่อนเก็บภาชนะใส่ยาเข้าที่หรือก่อนทิ้งภาชนะใส่ยา
Right documentation (ถูกการบันทึก)
Right patient/client (ถูกคน)
Right to refuse
Right History and assessment
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation
Right to Education and Information
หลักสำคัญในการให้ยา
ตรวจสอบผู้ป่วยก่อนให้ยาโดยการถามชื่อและนามสกุลก่อนทุกครั้ง
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการให้ยาและผลข้างเคียง
ไม่ให้ยาที่ฉลากมีการลบเลือนไม่ชัดเจน
ต้องให้ผู้ป่วยรับประทำนยาต่อหน้าพยาบาลเพื่อป้องกันผู้ป่วยไม่ได้รับยา
ไม่ควรเตรียมยาค้างไว้
ลงบันทึกการให้ยาหลังจำกให้ยาทันที
ตรวจสอบวันหมดอายุของยา
มีการประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
ตรวจสอบประวัติกำรแพ้ยาจากตัวผู้ป่วยและญาติ
สังเกตอาการก่อนและหลังการให้ยา
ก่อนให้ยาต้องทราบวัตถุประสงค์การให้ยา
ในกรณีที่ให้ยาผิดต้องรีบรายงานให้พยาบาลหัวหน้ำเวรรับทราบเพื่อหาทางแก้ไข
ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ก่อนให้ยำทุกครั้ง
การให้ยาทางปากใช้หลักสะอาด
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคาสั่งใช้ยา (Transcribing error)
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing Error)
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescription error)
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
(Administration error)
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การประเมินสภาพ
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผล
การบริหารยา
(Drug administration)
การจัดการให้ผู้ป่วยได้รับยำโดยคำนึงถึงความถูกต้องตามหลักการให้ยา และประสิทธิภาพของระบบการบริหำรยาสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
วิถีทางการให้ยา
O = รับประทำนทำงปาก
SC= เข้าชั้นใต้ผิวหนัง
V=เข้าหลอดเลือดดำ
M = เข้ากล้ามเนื้อ
ID=เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
subling=อมใต้ลิ้น
Inhal=ทางสูดดม
Nebul=พ่นให้สูดดม
Supp=เหน็บ / สอด
instill=หยอด
เวลาการให้ยา
a.c.
ante cibum
ก่อนอาหาร
p.c.
post cibum
หลังอาหาร
stat
statim
ทันทีทันใด
p.r.n.
pro re nata
เมื่อจำเป็น
ความถี่การให้ยา
OD(omni die)=วันละ 1 ครั้ง
bid(bis in die)=วันละ 2 ครั้ง
tid(ter in die)=วันละ 3 ครั้ง
qid(quarter in die)=วันละ 4 ครั้ง
q 6 hrs(quaque 6 hora)=ทุก 6 ชั่วโมง
คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
คำสั่งแพทย์
คำสั่งใช้ภำยในวันเดียว
(Single order of order for one day)
คำสั่งที่ต้องให้ทันที
(Stat order)
คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป
(Standing order / order for continuous)
คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น
(prn order)
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
ชื่อของยา
ขนาดของยา
วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
วิถีทำงกำรให้ยำ
ชื่อของผู้ป่วย
เวลาและควำมถี่ในการให้ยา
ลายมือผู้สั่งยา
คำนวณขนาดยา
การคำนวณยาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา
ความเข้มข้นของยา (ในแต่ละส่วน) = ขนาดความเข้มข้นของยาที่มีต่อปริมาณยาที่มี
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
กรณีคำสั่งสารน้ำ+ยา B co 2 ml
การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้าย NPO และเขียนระบุว่า NPO
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ
เวรบ่าย พยาบาลจะตรวจสอบรายการยำในใบ MAR กับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกัน
การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยา
การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยา
ให้ยึดหลัก 6R ตามที่กล่าวมาข้างต้น
เมื่อมีคำสั่งใหม่ หัวหน้าเวร ลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษำในครั้งแรก
การซักประวัติ จะถามเรื่องการแพ้ยาทุกครั้ง
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Competencies of nurses for Rational Drug Use)
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อกำรใช้ยาได้อย่างเพียงพอ (Provide information)
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา
สามารถติดตามผลการรักษา
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจำเป็น (Consider the options)
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม
สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่างต่อเนื่อง
(Improve prescribing practice)
สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ