Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจแต่กำเนิด (Congenital Heart Disease) - Coggle Diagram
โรคหัวใจแต่กำเนิด (Congenital Heart Disease)
โรคหัวใจ แต่กำเนิดชนิดเขียว (Cyanotic CHD)
ชนิดเขียวและมีเลือดไปปอดมาก-Transposition of great arteries: TGA
สาเหตุและอาการ
เกิดจากความล้มเหลวของการแบ่งตัวของ Truncus arteriosus ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 8 ของการตั้งครรภ์ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดอาจเกิดจากมารดาติดเชื้อหัดไวรัสขาดสารอาหารแอลกอฮอล์เบาหวานอายุมากกว่า 40 ปี
การสลับของหลอดเลือดทำให้เด็กเขียวตั้งแต่แรกคลอดเรียกว่า blue-baby syndrome อาจเสียชีวิตตั้งแต่แรกคลอด แต่ถ้ามี VSD ASD PDA อาจช่วยให้มีชีวิตรอดไประยะหนึ่ง
General- หายใจเร็วตื่นหายใจลำบากหัวใจเต้นเร็วผิวคล้ำเขียวนิ้วปุ่มกินได้น้อยตัวเล็ก
การวินิจฉัย
CXR พบหัวใจโตและขั้วหัวใจแคบและยาวคล้ายไข่ท่าตะแคง egs on side เนื่องจาก aorta and pulmonary artery ซ้อนกัน
EKG-QRS change
Echo-พบ aorta and pulmonary artery ขนานกันปกติไขว้กัน
Echocardiography-ความดันใน RV and AO เท่ากับความดันที่วัดได้ตามแขนและขาความอิ่มตัวของออกซิเจนต่ำกว่าปกติ
การรักษา
การรักษาด้วยยา
Prostaglandin E1 0.05-2 microgram / kg / minute nuan เข้าหลอดเลือดดำทันทีที่วินิจฉัยได้ตั้งแต่แรกเกิดเพื่อป้องกันไม่ให้ Ductus arteriosus ปิดทำให้เลือดผสมกันได้เพื่อให้ทารกรอดไปอีกระยะหนึ่งก่อนการรักษาด้วยการผ่าตัดต่อไป
การรักษาด้วยการผ่าตัด
Atrial switch procedure-first week after birth สลับเปลี่ยนทางเดิน AO and PA ให้อยู่ในภาวะปกติ
Intra-arterial baffle repairs- ผ่าตัดซ่อมแซมภายในหลอดเลือดแดงเปลี่ยนทางเดินหลอดเลือดดำให้เลือดไหลไปฟอกที่ปอด
การพยากรณ์โรคหลังผ่าตัดดี
ชนิดเขียวและมีเลือดไปปอดน้อย-Tetralogy of Fallot: TOF: พบบ่อย
สาเหตุ
เกิดจากความล้มเหลวในการเจริญเติบโตของหัวใจตั้งแต่เป็นตัวอ่อนในครรภ์ระยะ 3 เดือนแรก
เป็นโรคหัวใจพิการ แต่กำเนิดชนิดเขียวที่พบบ่อยที่สุดร้อยละ 10 ของโรคหัวใจในเด็กและร้อยละ 40 ของโรคหัวใจชนิดเขียว
TOF มีความผิดปกติ 4 อย่าง
VSD
Overriding aorta
Right ventricular hypertrophy
Infundibula stenosis: กล้ามเนื้อบริเวณทางออกของ right ventricle หนาตัวผิดปกติพบไม่บ่อย echo จะวินิจฉัยได้ชัดเจน
พยาธิสภาพ
เมื่อ pulmonary stenosis ทำให้ขัดขวางการไหลเวียนเลือดไปปอดทำให้ความดันใน RV สูงประกอบกับการมี VSD ดังนั้นเลือดดำจะไหลจาก RV to V และออกทาง Aorta ทำให้ LV ทำงานหนักขึ้น Lv โตและร่างกายได้รับเลือดที่มีออกซิเจนต่ำและร่างกายพยายามทดแทนการขาดออกซิเจนโดยการสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้นทำให้เลือดมีความหนืดการไหลเวียนเลือดช้าลงเกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ
เด็กจะเขียวเมื่อ PDA ปิดสนิท
เด็กจะเขียวเมื่อร้องให้เต้นการนั่งยองๆช่วยให้หายเหนื่อย
อาการ
อาการจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขนาดและความผิดปกติของ VSD and
ไม่แสดงอาการเขียวตั้งแต่แรกเกิดจนกระทั่ง 3-4 เดือน
เขียวเป็นครั้งคราวเช่นร้องให้อาบน้ำกินนมมีไข้เนื่องจากไปเพิ่มภาวะ Rt to Lf shunt -
น้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่าปกติการเจริญเติบโตและพัฒนาการข้าอาการเขียวรุนแรงขึ้นเมื่อ PDA ปิด
มีภาวะ anoxic spel เกิดจากสมองขาดออกซิเจนทำให้เป็นลมหน้ามืดชักหมดสติได้บ่อยมักเกิดหลังตื่นนอนร้องให้อุจจาระออกกำลังกาย
มีนิ้วปุ่ม clubbed fingers and toes PS
มีอาการหายใจลำบาก dyspnea เมื่อเล่นต้องจับนั่งยองๆหรือนอนท่าเข่าชิดอก knee chest position อาการจะดีขึ้น
เด็กจะชอบนั่งยองๆ squatting เพื่อให้เกิดการพับของหลอดเลือดใหญ่ที่ขาหนีบและเพิ่มความต้านทานของหลอดเลือดในร่างกายทำให้เลือดไปปอดมากขึ้นเกิดภาวะ Rt to Lt shunt ลดลงชั่วขณะทำให้ผู้ป่วยสบายขึ้น
เด็กจะเขียวน้อยถ้า Infundibula stenosis ไม่มาก
หลอดเลือดไปปอตยิ่งตีบมากเด็กก็จะเขียวมากเหนื่อยมากตั้งแต่เล็กในทางตรงกันข้ามถ้าหลอดเลือดไปปอดตีบไม่มากเด็กก็จะเริ่มเขียวเหนื่อยเมื่อโตมากแล้ว
มักไม่แสดงอาการหลังคลอด แต่อาจฟังพบ murmur
ถ้าไม่ได้รักษา Anoxic spell
ไม่รักษา-แทรกซ้อน-หลอดเลือดอุดตันในสมองหรือฝีในสมอง Brain abscess
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ถ้าเกิด Hypoxic spell ต้องรักษาทันทีลด metabolism พักผ่อนให้ diazepam or chloral hydrate ให้ออกซิเจน knee chest position ให้ iv fluid บวก glucose แก้ไขภาวะไม่สมดุลของกรดต่าง
ยาที่ห้ามเมื่อขณะมีอาการ Hypoxic spell ได้แก่ ยาที่ทำให้บีบหัวใจแรงขึ้น epinephrine, isoproterenol, และ cardiac glycoside lauri digitalis
แรกเกิดอาจให้ Prostaglandin E1 เพื่อเปิด Ductus arteriosus ทารกจะรอดอีกระยะเพื่อรอการรักษาด้วยการผ่าตัดต่อไป
การรักษาด้วยการผ่าตัด
Palliative surgery เป็นการผ่าตัดแบบชั่วคราวในกรณีเขียวมาก Hct มากกว่า 60% มีภาวะ anoxic spell และไม่สามารถรักษาได้ด้วยยา
Modified Blalock-Taussing Shunt Taunnsló graft sie ระหว่าง right subclavian artery กับ pulmonary artery ทำให้ได้เลือดผสมผ่าน shunt และ pulmonary artery ไปปอดได้ทำให้เลือดมีปริมาณออกซิเจนสูงขึ้นทำให้มีชีวิตอยู่ต่อได้อาการดีขึ้น
Corrective Surgery เป็นการผ่าตัดเพื่อแก้ไขความผิดปกติทั้งหมดควรทำเมื่ออายุ 2-6 ปีเด็กน้ำหนัก 10 กกขึ้นไปเรียกว่า Resection Subvalvular Obstruction คือการผ่าตัดเนื้อเยื่อ infundibulum ออกและปิด VSD ด้วยการทำ Corrective surgery
ภาวะแทรกซ้อน
Cerebral abscess ฝีในสมอง
Infective endocarditis
Cerebral palsy สมองพิการ
ความผิดปกติของเส้นเลือดในปอด
ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
ไม่รักษามีโอกาสเสียชีวิตก่อนอายุ 10 ปีจากขาดออกซิเจนและสมองอักเสบ
พบภาวะหัวใจวายหลังการผ่าตัดได้
การพยาบาลเด็กโรคหัวใจชนิดเขียว
ป้องกันภาวะ shock สังเกตประเมินอาการเหนื่อยหอบมากขึ้นเขียวมากขึ้นหัวใจเต้นเร็วการไหลเวียนเลือดไปส่วนปลายลดลงตัวเย็นแขนขาเย็นชีพจรส่วนปลายเบาลงปัสสาวะออกน้อยกว่า 1 m / kg / hr เพื่อช่วยเหลือทัน
จัดกิจกรรมไม่ออกแรงมากลดสิ่งที่ทำให้ตื่นเต้นกลัวตกใจเสียใจเครียดวิตกกังวลเจ็บปวดหรือการกินนมไม่นานเกินไปจนเหนื่อย
ดูแลให้พักผ่อนลดการทำงานของหัวใจ
ถ้าร้องต้องทำให้สงบโดยเร็วเพราะทำให้ความดันในทรวงอกเพิ่มทำให้เลือดไปปอดน้อย
ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
เตรียมพร้อมเพื่อการผ่าตัด
ป้องกันภาวะ dehydration เพราะจะทำให้เลือดข้นมากขึ้นมีคามหนืดมากไหลเวียนช้าถ้าไม่มีหอบเหนื่อยให้ดื่มน้ำในปริมาณที่เพียงพอหรือถ้าเสียน้ำต้องรายงานเพื่อพิจารณาให้ iv fluid
ประเมินอาการทางระบบประสาทระดับความรู้สึกตัวการเคลื่อนไหว
ประเมิน ICP
ติดตามน้ำหนักตัวเด็ก
ติดตามผล Hct ถ้ามากกว่า 65% และมีอาการมึนศีรษะรีบรายงานสงสัยภาวะเลือดข้น
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว (Acyanotic CHD)
เลือดไหลลัดวง00จรจากซ้ายไปขวา (Left to Right Shunt)
Ventricular Septal Defect: VSD มีรูรั่วที่ผนังกั้นห้องหัวใจห้องล่าง
สาเหตุ
เกิดเมื่อตัวอ่อนในครรภ์อาอายุระหว่าง 4-8 สัปดาห์
พบมากที่สุด 25% ของโรคหัวใจพิการ แต่กำเนิดทั้งหมด
มักแสดงอาการหลังอายุ 1 สัปดาห์
พบมากในเด็ก Down's Syndrome และมีความผิดปกติอื่นร่วมด้วย
เกิดจากการสร้างผนังกั้นหัวใจระหว่างห้องล่างซ้ายและขวาล้มเหลว
พยาธิสภาพ
ระยะแรกความต้านทานในหลอดเลือดแดงของปอด (PVR) ยังสูงทำให้ความดันของหัวใจห้องล่างซ้ายและขวาใกล้เคียงกันจึงไม่เกิดการไหลลัดของเลือดหรือผ่านรูรั่วได้น้อย
ต่อมา PVR จะค่อยๆลดลงจากการที่แรงดัน LV มากกว่า RV ทำให้เกิดการไหลของเลือดผ่าน VSD เกิด Lt to Right shunt และเลือดออกสู่ Pulmonary artery อย่างรวดเร็วเลือดไปปอดมากขึ้นและ LV ขยายตัวตามปริมาณเลือดที่ไหลกลับจาก Pulmonary vein และ LA ถ้ารูรั่วขนาดใหญ่จะทำให้หัวใจซีกซ้ายทำงานหนักเกิดภาวะหัวใจวายได้ (CHF)
เมื่อเลือดไหลผ่านไหลผ่าน PA มากจะทำให้หลอดเลือดขยายใหญ่ขึ้นและความดัน PA จะเพิ่มขึ้นทำให้กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาหนาตัวขึ้นและหัวใจห้องล่างขวามีขนาดใหญ่ขึ้น
Classification by size of Septal defect: VSD
Small VSD
<3 mm in diameter หรือ1/3 of aortic annular size
insufficient size to raise RV pressure
Asymtomatic & close spontaneously
Muscular close sooner than membranous
ไม่มีอาการผิดปกติอาจตัวเล็กน้ำหนักน้อยเหนื่อยง่ายเวลาดูดนมหรือติดเชื้อทางเดินหายใจได้บ่อย แต่ไม่พบภาวะหัวใจวาย
Moderate VSD
CHF, pulmonary hypertension
Spontaneous closure
3- 5 mm in diameter หรือ 1/3 or 2/3 of aortic annular size
เหนื่อยง่ายเมื่อดูดนมเหงื่อออกมากตัวเล็กเลี้ยงไม่โตพัฒนาการปกติติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยอาจมีภาวะหัวใจวาย
Large VSD
6-10 mm in diameter หรือ> 2/3 of aortic annular size
Develop CHF: age 3-6 month and Failure to gain weight
Requires surgery
Unoperated patient risk: cardiomegaly
เหนื่อยง่ายเมื่อดูดนมเหงื่อออกมากหายใจเร็วตัวเล็กเลี้ยงไม่โตมักมีภาวะหัวใจวายอาจเขียวได้ถ้ามี Reverse shunt (Rt to Lt shunt)
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดที่มีความผิดปกติที่ผนังกั้นระหว่างหัวใจห้องล่างซ้ายที่มีรูรั่ว
Eisenmenger's syndrome
สิ่งที่ช่วยในการวินิจฉัย ได้แก่ มี oxygen saturation <95% ตรวจร่างกายอาจไม่ได้ยิน heart murmur แต่จะมี second heart sound ดังมาก
Decrease in oxygen level, decrease function organ, Cyanosis, Polycythemia, clubbing finger tips
มักเป็นเด็กโตที่มี VSD ขนาดใหญ่ส่วนใหญ่จะได้ประวัติว่าตอนเล็ก ๆ มีอาการของ heart failure รุนแรงเมื่อโตขึ้นอาการดีขึ้น แต่เด็กดูเขียวคล้ำขึ้น
symptom
Cyanosis: bluish / grayish skin color
High red blood cell count: Polycythemia
swollen / clubbing finger tips: large and rounded fingernails or toenails
Easy tiring, Dizziness, headache
Shortness of breathing with activity
chest pain
Enlarged liver
Bleeding, hemoptysis, heart failure, sudden death
การวินิจฉัย
ซักประวัติครอบครัวการตั้งครรภ์ของมารดาและประวัติสุขภาพ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
EKG
Echocardiogram
Cardiac Catheterization
CXR
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
อาจเกิดติดเชื้อที่เยื่อหุ้มหัวใจ Infective endocarditis Pulmonary Stenosis •
แทรกซ้อนหลังการผ่าตัดอาจพบ VSD หลงเหลืออยู่
การนำไฟฟ้าผิดปกติได้
Atrial Septal Defect: ASD ผนังกั้นหัวใจห้องบนรั่ว
สาเหตุ
ASD เป็นความผิดปกติ แต่กำเนิดที่มีรูเปิดระหว่างหัวใจห้องบนเลือดจะไหลจากหัวใจห้องบนซ้ายที่มีแรงดันสูงกว่าไปยังหัวใจห้องบนขวา
Ostium Secundum ASD: รูเปิดอยู่บริเวณใกล้กับกึ่งกลางของผนังกั้นหัวใจพบมากที่สุด: foramen ovale
Ostium Primum ASD: รูเปิดอยู่บริเวณล่างสุดของผนังกั้นหัวใจ: อาจเกิดร่วมกับ Mitral valve abnormalities หรือ Down's syndrome
Sinus venosus defect ASD: รูเปิดอยู่ใกล้บริเวณ SVC และ RA
อาการ
มีรูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องบนทำให้เลือดไหลผ่านจากหัวใจห้องบนซ้าย Lt atrium ผ่านรูรั่วไปห้องบนขวา Rt atrium ตรวจพบเสียง murmur และผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่ายหัวใจห้องขวาขยายใหญ่เมื่ออายุมากขึ้น
มักไม่ค่อยมีอาการในเด็กเล็กยกเว้นมี associated lesion kuu anomalous of pulmonary venous return หรือมีลิ้น mitral รั่ว
ASD ขนาดเล็กที่มีการไหลของเลือดผ่านปอดไม่ถึงสองเท่าของปริมาณการไหลของเลือดผ่านร่างกายเด็กมักไม่แสดงอาการและเจริญเติบโตได้ปกติ
ASD ขนาดใหญ่ที่มีการไหลของเลือดผ่านปอดมากกว่าสองเท่าของปริมาณการไหลของเลือดผ่านร่างกายจะทำให้มีอาการเหนื่อยง่ายเหงื่ออกมากหายใจลำบากเมื่ออกกำลังกายติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยๆโตช้าเกิดภาวะหัวใจวายได้
การวินิจฉัย
ซักประวัติครอบครัวการตั้งครรภ์การเกิดอาการหลังเกิด
ตรวจร่างกายตามระบบพบเสียงหัวใจผิดปกติและอาการ
CXR พบหัวใจด้านขวาโตหลอดเลือดแดงที่ปอดมีขนาดใหญ่
EKG พบ p wave สูงแหลมแสดงว่าหัวใจห้องบนขวาโต
Echocardiogram หัวใจห้องบนและล่างขวาโตบอกขนาดและชนิด ASD ได้บอกทิศทางการไหลของเลือดได้
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ASD ร่วมกับความผิดปกติของลิ้นหัวใจมักเกิดภาวะ CHF รักษาด้วย digoxin จำกัด น้ำให้ยาขับปัสสาวะ
การรักษาด้วยการผ่าตัด
ASD รักษาด้วยการสวนหัวใจ Catheterization ได้ผลดี UV Closure: an atrial septal occlude
Open heart surgery: large hole หรือใส่ Cath ปิดไม่ได้
ภาวะแทรกซ้อน
อาจเกิดหลอดเลือดที่ปอดอุดตันเกิดลิ่มเลือดเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของเลือดที่ออกจากปอด
Patent Ductus Arteriosus: PDA
สาเหตุ
จากการมีภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ Hypoxia ภายหลังเกิดทำให้แรงดันออกซิเจนต่ำด้วยทำให้ Ductus arteriosus ไม่ปิด
มารดาติดเชื้อหัดเยอรมันในระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์เชื้อไวรัสนี้จะไปขัดขวางการสร้าง Ductus arteriosus
เมื่อทารกอยู่ในครรภ์จะมีแรงดันออกซิเจนในเลือดต่ำและระดับ Prostaglandin (ซึ่งได้จากแม่ผ่านรก) ในเลือดสูงทำให้ Ductus arteriosus เปิดอยู่ตลอดเวลา
เมื่อทารกเกิดระดับ Prostaglandin จะต่ำลงเริ่มหายใจแรงดันออกซิเจนในเลือดเพิ่มขึ้นทำให้ Ductus arteriosus ปิด
กรณีเด็ก Preterm มีการเพิ่มแรงดันออกซิเจนในเลือดน้อยจากการที่ทารกยังหายใจได้ไม่ดีทำให้หลังเกิด Ductus arteriosus ไม่ปิด
การเกิด PDA
Ductus arteriosus ยาวประมาณ 1 cm มีหูรูดเมื่อคลอดและเริ่มหายใจความดันออกซิเจน Oxygen tension จะสูงขึ้นทำให้กล้ามเนื้อเรียบของ Ductus arteriosus หดตัวซึ่งจะเริ่ม 10-15 ซม. หลังเกิดและจะปิดสนิทเมื่อทารกอายุประมาณ 2-3 สัปดาห์
กรณีที่ Ductus arteriosus ไม่ปิด (PDA) เลือดแดงที่ออกจากหัวใจเพื่อไปเลี้ยงร่างกายจึงปนกับเลือดดำที่ออกจากหัวใจไปปอดและไหลกลับเข้า LA & LV มากขึ้นหัวใจด้านซ้ายจึงทำงานหนักขึ้นและขยายออกต่อมาอาจเกิดเลือดคั่งที่ปอด Pulmonary congestion ทำให้ความดันที่หัวใจห้องล่างขวามีมากกว่าห้องล่างซ้ายหัวใจโตต่อมาหัวใจห้องขวาอาจไม่สามารถทำงานได้เกิดภาวะหัวใจวายได้
อาการ
ขึ้นกับขนาดของ PDA 0
Small PDA อาจไม่พบอาการ o
Moderate to Large PDA จะเหนื่อยง่ายติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยตรวจพบ bounding pulse (strong and forceful pulse) Fast breathing, shortness of breath, sweating while feeding, tiring very easily, enlarged heart, หัวใจซีกซ้ายโตตัวเล็ก Not feeding well น้ำหนักตัวน้อย Poor growth: use energy for breath
Murmur
Pulse pressure กว้างชีพจรเต้นแรง
Pulse pressure กว้าง (SP-DP DP ต่ำเพราะมีการรั่ว) ชีพจรเต้นแรงจากการที่มีเลือดไหลออกจากหลอดเลือดแดงใหญ่ไปหลอดเลือดแดงของปอด
การวินิจฉัย
ประวัติการติดเชื้อหัดเยอรมันของมารดาขณะตั้งครรภ์ใน 3 เดือนแรกประวัติเบาหวานดื่มสุรารังสีรับประทานยาการคลอดก่อนกำหนดการเติบโตและพัฒนาการของเด็ก
ตรวจร่างกายพบ Pulse pressure กว้าง
Murmur และถ้า PDA ใหญ่อาจตรวจพบ thrill
Silent PDA (very small) wulñonn echocardiography
CXR ใน Large PDA พบหัวใจโต
EKG ใน large PDA พบ P wave กว้างได้จากหัวใจโต
Echocardiography พบหัวใจข้างซ้ายโตพบทางลัดของ DA
ลักษณะธรรมชาติ
Small PDA ปิดเองได้เมื่อ 2-3 เดือน
แต่ถ้าอายุมากกว่า 1 ปีมักไม่ปิดเองต้องรักษา
เด็กโตแม้จะไม่มีอาการ แต่เสี่ยงกับ Infective endocarditis
ถ้าไม่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาจะทำให้ความดันหลอดเลือดแดงในปอดสูงจนเกิดภาวะ Eisenmenger's Syndrome ทำให้มีการไหลของเลือดดำผ่านทาง PDA ไปยัง Descending aorta ทำให้ส่วนล่างของร่างกายมีเลือดดำไปเลี้ยงเกิด Hypoxia ตรวจร่างกายจะพบเขียวนิ้วปุ่มพบ Difference Cyanosis (ความอิ่มตัวของออกซิเจนที่เท้าต่ำกว่าที่แขน)
การพยากรณ์โรคดีหลังการรักษา
การรักษา
การรักษาด้วยยาในรายที่มีภาวะหัวใจวายรักษาด้วยยาฉีด Indomethacin มีฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง Prostaglandin Inhibitor 0.3 mg / Kg ทาง v 3 dose / course ทุก 12 hr. ยานี้จะมีผลต่อไตในเด็กตั้งเหลืองหรือมีเลือดออกในร่างกายรักษาด้วย Ibuprofen มีผลต่อไตน้อยกว่า
Indomethacin: NSAIDS: nonsteroidal anti-inflammatory drug to inhibit prostaglandin synthesis to close ductus arteriosus untolu premature infant / few days old infant, not work in older infant
การรักษาด้วยการผ่าตัด
Ligation PDA เป็นการทำผ่าตัดแก้ไขเส้นเลือดเกินโดยการผูกหนีบด้วยคลิบหนีบเส้นเลือด (Clipping PDA) หรือตัดขาดออกจากกันแล้วเย็บปิดปลายทั้งสองข้าง (Division PDA) เป็นการผ่าตัดโดยไม่ต้องอาศัยเครื่องปอดหัวใจเทียม
การผ่าตัดปิดด้วยการใช้เครื่องปอดหัวใจเทียม
ภาวะทางเดินโลหิตอุดตัน (Obstructive lesions)
Pulmonary (valve) stenosis (PS)
Baby born with rubella
PS along with deafness and PDA
Thickened heart valve
Not fully open
High pressure in RV
Heart work harder: heart muscle damage
Lips and nail beds cyanosis severe
Cardiac catheterization by balloon valvuloplasty (สวนหัวใจ)
Surgery-pulmonary valve replacement
Need antibiotic ก่อนฟันขึ้น: ระวัง Endocarditis
Side effect after intervention- pulmonary valve leak: PR
PR = pulmonary regurgitation: lon'lnavounou
Aortic valve stenosis (AS)
Congenital & Acquired.
Aortic valve narrow
Fatigue
Failure to gain weight
Poor or inadequate feeding - Breathing problems
Murmur
Transcatheter aortic valve replacement: TAVR (การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ Aortic ผ่านการใช้สายสวน)
การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
Coarctation of the Aorta (COA) หลอดเลือดแดงใหญ่ตีบ
สาเหตุ
Ascending aorta: coronary aorta
Aortic arch: head neck upper extremities
Descending aorta: chest
Abdominal aorta: abdomen, pelvic, lower extremities
Diagnosis: Ultrasound, Echocardiogram after birth
CoA เกิดจาก Ductus arteriosus tissue extend to aorta , when it close naturally , take some of aorta with it , aorta narrow
Narrowing in a section of aorta
Tend to occur after the left subclavian artery and before ductus arteriosus
Pressure changing
Before the narrowing: Higher pressure
After the narrowing: Decrease pressure
Type of CoA in infant
Preductus: infantile type
Narrowing between left subclavian and ductus arteriosus
Area that effect from the narrowing
High BP
Left ventricle-pump against pressure all the time
Enlarge, exhausted, decrease Co, heart failure
Need medical treatment to prevent
Head and neck: High BP go to brain: headache
Infant: irritable, nose bleeding, stroke
Decrease brain function
Very strong bounding upper extremities pulse
Pulse pressure-Upper-lower BP und 20 mmHg
Low BP
Absence femoral pulse
Cool extremities
Lower BP in lower extremities
Systolic murmur
Collateral circulation-ระบบไหลเวียนสำรอง
ผลจากการตีบของหลอดเลือดแดงใหญ่ของร่างกาย
หัวใจห้องซ้ายมีความดันสูงขึ้น
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้ายหนาตัวขึ้นและกระตุ้นให้ความดันโลหิตของร่างกายส่วนบนสูงขึ้น
เลือดไปเลี้ยงร่างกายส่วนล่างของลำตัวลดลงเกิดความแตกต่างของความดันโลหิตระหว่างแขนและขา
ชีพจรส่วนขาเบาลงบางรายอาจไม่มีอาการ แต่ถูกตรวจพบโดยบังเอิญในเด็กโตหรือผู้ใหญ่เช่น murmur หรือความดันโลหิตสูงคลำชีพจรส่วนขาเบาผิดปกติ
อาการ
อาการแรกรับมักพบความดันที่แขนมากกว่าความดันที่ขาและคลำชีพจรที่ขาหนีบไม่ได้
ขาเย็นเท้าเย็นหายใจเหนื่อยมากขึ้นขณะออกกำลังกาย
มึนงง
เลือดกำเดาไหล
หน้ามืด
เจ็บหน้าอก
การผ่าตัด
CoA Repair บริเวณเส้นเลือดที่คอดสามารถทำผ่าตัดแก้ไขได้หลายแบบ ได้แก่ ตัดต่อใหม่ปะขยายด้วยวัสดุสังเคราะห์หรือใช้เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงแขน (ของผู้ป่วยเอง) ตัดตลบลงมาปะขยายส่วนที่ตีบเป็นการผ่าตัดโดยไม่ต้องอาศัยเครื่องปอดหัวใจเทียม
Nursing intervention for COA
Monitoring heart failure: condition, severity
Risk for decrease cardiac output: LV fail: high pressure
Respiratory issues, oxygenation
Difficulty breathing
Poor feeding: effect growth. - If found in childhood: BP upper and lower different
In severe case after birth: prostaglandin infusion to keep PDA
To decrease workload on LV - To increase blood flow to lower extremities
Medication: digoxin, diuretic - Education