Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กจนถึงวัยร่นที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยา - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กจนถึงวัยร่นที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยา
ซีดจากการขาดธาตุเหล็ก (Iron deficiency anemai)
อาการและอาการแสดง
ซีด เหนื่อยง่ายเมื่อออกแรง อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ เฉื่อยชา ชีพจรเร็ว ความดันโลหตต่ำ เบื่ออาหาร อาหารไม่ย่อย ท้องผูกหรือท้องเสีย
สาเหตุ
การได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอกับความต้องการ
การสะสมธาตุเหล็กน้อย เช่น ทารกคลอดก่อนกำหนด ทารกแฝด
การสูยเสียเลือดเรื้อรังในหญิงวัยเริญพันธุ์อาจมีการขาดธาตุเหล็ก จากประจำเดือนออกมากกว่าปกติ
การวินิจฉัย
ซักประวัติ : การตั้งครรภ์ของมารดา ประวัติการคลอด ชนิดของนม อาหารเสริม
การตรวจร่างกาย : สังเกตหาสาเหตุภาวะซีด เช่น สีผิว ริมฝีปาก เยื่อบุตา
ทางห้องปฏิบัติการ : Hb และ Hct ต่ำ เม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็กและติดสีจาง Serum transferrin ลดลง
การรักษา
ให้กิน Ferrous sulfate วันละ 3 ครั้ง ระหว่างมื้ออาหาร(ท้องว่าง)
แก้ไขปัญหาที่สาเหตุ
การให้เลือดในรายที่มีภาวะซีดมาก
โรคภาวะโลหิตจางจากไขกระดูกไม่ทำงาน (Aplastic anemai)
ภาวะที่มี RBC, WBC, Plt น้อยหรือไม่มี
สาเหตุ
ผิดปกติแต่กำเนิด
เกิดขึ้นภายหลัง จากการทำลาของเนื้อเยื่อ Stem cell ในไขกระดูก จากสาเหตุ ดังนี้
จากการไม่ทราบสาเหตุ
ได้รับยา เช่น ยาเคมีบำบัด ยาแก้ปสด ยากันชัก
ได้รัลสารเคีที่มีผลต่อระบบเลือด เช่น ยาฆ่าแมลง ทินเนอร์
การภายหลังการติดเชื้อ
เกิดภายหลังได้รับรังสีการรักษาในขนาดสูง
พยาธิสภาพ
การได้รับสารเคมี ยา หรือเชื้อจุลชีพบสงชนิด รวมทั้งการได้รับรังสีรักษา และภาวะผิดปกติในระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในไขกระดูก
อาการและอาการแสดง
Low Platelet : เลือดออกในอวัยวะต่างๆ มีจุดจ้ำเลือดตามตัว
Low RBC : ซีด เหนื่อยง่าย ชีพจรเบาเร็ว ถ้ามีอาการเสียเลือดร่วมจะเกิดอาการซีดรุนแรง
Low WBC : ติดเชื้อง่าย มีไข้ เป็นแผลในปาก
การวินิจฉัย
การเจาะไขกระดูก : พบเซลล์ไขกระดูกน้อย
การตรวจนับเม็ดเลือดทั้งสามชนิด : ลดลงอย่างชัดเจน
การรักษา
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก : ในเด็กที่ ซีด เลือดออก และติดเชื้อรุนแรง ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยฮอร์โมน
การรักษาด้วยยากดระบบ Immune
รักษาตามอาการ
โรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์โกลบิน ทำให้การสร้างฮีโมโกลบินลดลง
การถ่ายทอดพันธุกรรม
พาหะแต่งงานกับพาหะจะมีบุตรร้อยละ 25 ปกติ ร้อยละ 50 เป็นพาหะร้อยละ 25 เป็นโรค
พาหะแต่งงานกับคนปกติจะมีบุตรร้อยละ 50 ปกติ ร้อยละ 50 เป็นพาหะ
ผู้ที่เป็นโรึชคแต่งงานกับพาหะจะมีบุตรร้อยละ 50 เป็นพาหะ ร้อยละ 50 เป็นโรค
ผู้ที่เป็นโรคแต่งงานกับปกติจะมีบุตร ร้อยละ 100 เป็นพาหะ
ชนิดของโรค
กลุ่มอาการรุนแรงมาก ได้แก่ ฮีโมโกลบินบาร์ทโฮดรอพส์ ฟิทัลลิสเป็นชนิดที่รุนแรงที่สุด
กลุ่มอาการรุนแรงปานกลาง ได้แก่ โฮโมซัยกัส เบต้า-ธาลัสซีเมียและเบต้า-ธาลัสซีเมีย/ฮีโมโกลบินอี แรกเกิดปกติ จะเริ่มมีอาการตั้งแต่ภายในขวบปีแรกหรือ
หลังจากนั้น
กลุ่มอาการรุนแรงน้อย ได้แก่ ฮีโมโกลบิน
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : ประวัติการซีดเรื้อรัง ประวัติครอบครัว
ตรวจร่างกาย : ดูกลุ่มอาการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : การตรวจนับจำนวนและดูลักษณะของเลือดเลือดแดง
การรักษา
การรักษาทั่วไป : อธิบายให้ผู้ป่วยและผู้ปกครองเข้าใจเกี่ยวกับโรค การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การให้เลือด : เพื่อเพิ่มปริมาณเม็ดเลือดแดงในร่างกาย
การให้ยาขับธาตุเหล็ก : เพื่อป้องกันและลดภาวะเหล็กเกินในเลือด
การผ่าตัดม้าม : ทำในกรณีที่ม้ามโตมากจนทำให้ อึดอัด หรือมีภาวะม้ามทำงานมากกว่าปกติ
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก : เป็นการรักษาโรคธาลัสซีเมียให้หายได้
การให้คำปรึกษาทางพันธุศาสตร์
อาการและอาการแสดง
ซีดเรื้อรังเมื่อมีไข้ไม่สบาย
การเจริญเติบโตไม่สมวัย ท้องป่อง แขนขาเล็ก ม้ามตับโต
ใบหน้ามีลักษณะ Thalassemia face โดยมีสันจมูกแบะหน้าผากโหนกขัน กระดูกแก้มและขากรรไกรกาว้งใหญ่ ฟันยื่น ลูกตาอยู่ห่างกันมากกว่าคนปกติ
โรคภาวะเกล็ดเลือดต่ำโดยไม่ทราบสาเหตุ
(Indiopathic Thrombocytopenic purpura: ITP)
สาเหตุ
การสร้างเกล็ดเลือดลดลง เนื่องจากโรคของไขกระดูกเอง
เกล็ดเลือดถูกทำลายมากกว่าปกติ
เกล็ดเลือดถูกใช้ไปมากกว่าปกติ
พยาธิสภาพ
Platelet antibody หรือ Platelet – associated Immunoglobulin บนผิวของเกล็ดเลือด ซึ่งทำให้เกล็ดเลือดถูกทำลายอย่างรวดเร็ว โดย macrophage ที่ม้าม ทำให้ระดับเกล็ดเลือดลดต่ำลงอย่างรวดเร็ว และเกิดภาวะเลือดออกในอวัยวะต่างๆ ตามมาเลือด เกล็ดเลือดจะเกาะกันเป็นกลุ่มเกิดเป็น platelet plug เพื่ออุดหลอดเลือดที่ฉีกขาด
อาการและอาการแสดง
จุดจ้ำเลือดที่ผิวหนัง ทั้งที่เป็นจุดเล็กๆ (petechiae) และเป็นจ้ำเลือด (ecchymosis)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : ซักถาม การมีเลือดออกตามส่วนต่างๆ
การตรวจร่างกาย : มีเลือดกำเดาไหล
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : เกล็ดเลือดต่ำกว่าปกติ แต่เม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวปกติ
การรักษา
การรักษาด้วยยาสเตียรยด์ เช่น Prednisolone หรือ Dexamethasone เพื่อยับยั้งการทำลายเกล็ดเลือดและทำให้ผนังหลอดเลือดแข็งตัว
การให้ Immunogobulin ทางหลอดเลือดดำเพื่อช่วยเพิ่มจำนวนเกล็ดเลือด
การห้ามเลือดที่ออกในจมูกด้วยการทำ anterior nasal packing ถ้าไม่หยุดให้ทำ posterior nasat packing
ให้เกล็ดเลือดเข้มข้นในรายที่เลือดออกรุนแรง
ผ่าตัดม้าม กรณีที่เกร็ดเลือดต่ำลงมากมีเลือดออกรุนแรง รักษาด้วย
โรคฮีโมฟีเลีย (Hemophilia)
สาเหตุ
ฮีโมฟีเลีย A (Classical Hemophilia) พร่องแฟคเตอร์ 8 พบได้บ่อยที่สุด
ฮีโมฟีเลีย B (Christmas disease) พร่องแฟคเตอร์ 9
ฮีโมฟีเลีย C พร่องแฟคเตอร์ 11
พยาธิสภาพ
ไฟบรินมาปิดหลอดเลือดที่ฉีดขาด จากนั้นเกล็ดเลือดจะมารวมตัวกันเ็นกลุ่มเพื่อเสริมกับไฟบรินทำให้ลิ่มเลือดที่แข็งแรง 2-3 วัน หลังจากนั้น จะมีกลไกการละลายลิ่มเลือดเกิดขึ้น เพื่อให้เลือดไหลเวียนผ่านหลอดเลือดที่เคยฉีกขาดต่อไปได้ดังเดิม
อาการและอาการแสดง
ทารกหลังคลอดมักไม่มีอาการเลือดออกแต่มีจุดเขียวหรือมี Cephathematorna ที่ศรีษะ
วัยทารกจะมีอาการจ้ำเขียวตามตัวหรือแขขา เมื่อเริ่มหัดคลานตั้งไข่เดิน จะมีน้ำเขียวมากขึ้นเมื่อฟันหลุดจะมีเลือดออกมากกว่าปกติ
อาการเลือดออกในข้อ เป็นลักษณะเฉพาะของโรคข้อ ที่มีเลือดออกบ่อยที่สุด คือ ข้อเข่า ข้อเท้า ข้อศอก ข้อนิ้วเท้า
การดูแลรักษา
ให้ FFP หรือ Cryoprecipitate
ห้ามเลือดและลดการมีเลือดออก ในวันแรกประคบด้วยความเย็นเพื่อให้เลือดหยุด วันต่อมาประคบด้วยน้ำอุ่นเพื่อให้ลิ่มเลือดละลายเร็วขึ้น
ถ้าเลือดออกในข้อให้ใช้ผ้ายืดพันไว้และให้พักข้อ นิ่งๆ ป้องกันและหลีกเลี่ยงการทำให้เลือดออก สังเกตอาการทางระบบประสาท
เมื่อเลือดหยุดออกเริ่มให้เคลื่อนไหวเพื่อป้องกันข้อติด
คำแนะนำสำหรับผู้ปกครองในการดูแลเด็กโรค Hemophilia
มีบัตรประจำตัวติดตัวเด็กตลอดเวลา ชื่อระบุ โรคที่เป็น
การป้องกันอุบัติเหตุ การจัดสิ่งแวดล้อม การเล่น การสวมเสื้อผ้า
การพาเด็กมารับ Vaccine ใช้เข็มเล็กสุด กดนาน 5-10 นาที
ดูแลสุขภาพฟันไม่ให้ฟันผุ หลีกเลี่ยง การใช้แปรงสีฟันที่มีขนแปรงแข็ง
หลีกเลี่ยงกีฬาที่กระทบกระแทก
ไม่ให้ผู้ป่วยอ้วน หรือ น้ำหนักมากเกินไป
ป้องกันภาวะท้องผูก ให้อาหารอ่อน ย่อยง่าย
โรคเลือดออกจากการมี Prothrombin ต่ำ (Acquired Prothrombim Complex Deficiency Syndrome : APCD)
ภาวะเลือดออก เนื่องจากขาดองค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือดตัวที่ 2 7 9 และ10 โดยส่วนใหญ่จะมีอาการเลือดออกในสมอง พบมากที่สุดในช่วงอายุ 1-2 เดือน
สาเหตุ
ทารกแรกเกิดมีวิตามิน เค ในเลือดน้อยมาก
ทารกไม่ได้รับวิตามิน เค เมื่อแรกเกิด
การได้รับอาหารเสริมที่ไม่ถูกต้อง
พยาธิสภาพ
โปรทรอมบิน คอมเพล็กซ์ ตัวที่ 2, 7, 9,10 สร้างโดยตับ มีวิตามิน เค สร้างโปรทรอมบิน คอมเพล็กซ์ เป็น active form เมื่อร่างกายขาด โปรทรอมบิน คอมเพล็กซ์ ทำให้กระบวนการแข็งตัวของเลือดหยุดชะงักในระยะของการสร้างโปรทรอมบินและทรอมบิน ทำให้สร้างไฟบริน เพื่อช่วยในการอุดรอยฉีกขาดของหลอดเลือดหยุดชะงักไปด้วย จึงเกิดภาวะเลือดออกผิดปกติในอวัยวะต่างๆ โดยเฉพาะในสมอง
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกในสมอง ทางเดินอาหาร ผิวหนัง อาการมักเกิดอย่างเฉียบพลัน
อาการซีด
มีจ้ำเขียวตามตัว หรือเลือดหยุดยาก
อาการตับโต ในผู้ป่วยเด็กบางราย
ในรายที่ไม่เสียชีวิตจากการมีเลือดในสมอง อาจมีอาการพิการทางสมองในระยะต่อมา
การรักษา
ให้วิตามินเค 2-5 มิลลิกรัม เข้าทางหลอดเลือดดำ เป็นเวลา 1- 3 วัน
ให้ Fresh Frozen Plasma ถ้าผู้ป่วยมีอาการเลือดออกรุนแรง
. ให้เม็ดเลือดแดงเข้มข้น ถ้าซีดมาก
การวินิจฉัย
จากการซักประวัติและตรวจร่างกาย : ทารกอายุ 2 สัปดาห์-2 เดือน มีประวัติคลอดที่บ้าน ไม่ได้รับวิตามินเคแรกเกิด
ทางห้องปฏิบัติการ : PT, PTT นานกว่าปกติ Hb,Hct ต่ำจากการเสียเลือด
ภาวะพร่องเอนไซม์ G-6-P-D (G-6-P-D Deficiency)
สาเหตุ
ยา : ยารักษามาลาเรีย ยาปฏิชีวนะ
สารเคมี : ลูกเหม็น
อาหาร : ถั่วปากอ้าดิบๆ
การติดเชื้อ : ไทฟอยด์ ปอดอักเสบ ตับอักเสบ ไข้หวัด มาลาเรีย
พยาธิสภาพ
เซลล์ ในภาวะที่มีระดับเอ็นไซม์ลดลงหรือมีโครงสร้างที่ผิดปกติ เซลล์อื่นๆ ซึ่งมีนิวเคลียสจะสร้างเอ็นไซม์ขึ้นมาใหม่ แต่เซลล์เม็ดเลือดแดงซึ่งไม่มีนิวเคลียสจะไม่สามารถสร้างเอ็นไซม์ได้ทำให้เม็ดเลือดแดงมีสภาวะที่ไม่คงทน เนื่องจากฮีโมโกลบินเกิดการเสื่อมสภาพ ตกตะกอนเป็น Heinz bodies ทำให้เม็ดเลือดแดงเสียความยืดหยุ่น เกิดการแตกทำลายได้ง่าย
อาการและอาการแสดง
ซีดลงอย่างรวดเร็ว
ภาวะไตวาย เนื่องจากมีกรดยูริกเพิ่มจำนวนขึ้นไปอุดหลอดเลือดฝอยในไต
ตัวเหลืองภายหลังคลอดในทารกแรกเกิดที่มีภาวะพร่องเอ็นไซม์ G-6-P-D
ปัสสาวะดำเป็นสีโค๊ก
ภาวะซีดเรื้อรัง
การรักษา
หาสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการซีด
การรักษาภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะไตวาย
ให้เลือด ถ้ามีอาการซีดมากๆ
ทารกแรกเกิดที่มีอาการตัวเหลือง รักษาด้วยPhototherapy