Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
1. วัตถุประสงค์ของการให้ยา
1.1 เพื่อการรักษา
รักษาเฉพาะโรค
ทดแทนสิ่งที่ร่ํางกายขาด
รักษาตามอาการ
ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
1.2 เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
1.3 เพื่อการตรวจวิเครําะห์โรค
2.ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
2.1อายุและน้ำหนักตัว
2.2. เพศผู้ชายมีขนาดตัวใหญ่กว่าผู้หญิง น้ำหนักย่อมมากกว่า
2.3 กรรมพันธุ์บางคนอาจมีความไวผิดปกติต่อยาบางชนิด บางคนแพ้ยาง่าย
2.4ภาวะจิตใจ
2.5 ภาวะสุขภาพ
2.6 ทางที่ให้ยา
2.7เวลํที่ให้ยา
2.8 สิ่งแวดล้อม
3.ระบบการตวงวัดยา
3.1 ระบบอโพทีคารีถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน
3สครูเปิล(scruple) = 1 แดรม (dram)
8 แดรม (dram) = 1 ออนซ์(ounce)
20เกรน (grain) =1 สครูเปิล(scruple)
12 ออนซ์ (ounce)= 1 ปอนด์ (pound)
3.2 ระบบเมตริกถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตรมิลลิลิตร
1 กิโลกรัม*= 1000 กรัม (gm)
1 กรัม*= 1000มิลลิกรัม (mg)
1 ลิตร =1000 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 มิลลิกรัม*= 1000 ไมโครกรัม (mcg)
1 กรัม = 1 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
3.3 ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้านมีหน่วยที่ใช้เป็น หยด ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว
1 ช้อนหวาน= 8มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนโต๊ะ=15มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนชา =5มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยชา =180 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
15 หยด=1 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยแก้ว = 240 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
4. คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
ความถี่การให้ยา
bidbis in dieวันละ 2 ครั้ง
tidter in dieวันละ 3 ครั้ง
qidquarter in dieวันละ 4 ครั้ง
ODomni dieวันละ 1 ครั้ง
q 6 hrsquaque 6 horaทุก 6ชั่วโมง
วิถีทางการให้ยา
V=เข้าหลอดเลือดดำ
ID=เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
SC=เข้าชั้นใต้ผิวหนัง
M=เข้ากล้ามเนื้อ
subling=อมใต้ลิ้น
O=รับประทํานทํางปําก
Inhal=ทํางสูดดม
Nebul=พ่นให้สูดดม
Supp=เหน็บ / สอด
instill=หยอด
เวลาการให้ยา
h.s.=hora somni=ก่อนนอน
p.r.n.=pro re nata=เมื่อจำเป็น
stat=statim=ทันทีทันใด
a.c.=ante cibum=ก่อนอาหาร
p.c.=post cibum=หลังอาหาร
5. คำสั่งแพทย์คำนวณขนาดยา
5.1 คำสั่งแพทย์
5.1.2คำสั่งใช้ภายในวันเดียว(Single order of order for one day) เป็นคำสั่งที่ใช้ได้ใน1 วันเมื่อได้ให้ยาไปแล้วเมื่อครบก็ระงับไปได้เลย
5.1.3 คำสั่งที่ต้องให้ทันที(Statorder) เป็นคำสั่งการให้ยาครั้งเดียวและต้องให้ทันที
5.1.1คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป(Standing order / order for continuous) เป็นคำสั่งที่สั่งครั้งเดียวและใช้ได้ตลอดไปจนกว่าจะมีคำสั่งระงับ(discontinue)
5.1.4 คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น (prn order) เป็นคำสั่งที่กำหนดไว้ให้ปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยมีอาการบางอย่ํางเกิดขึ้น
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
2) วันที่เขียนคำสั่งกํารรักษา
3) ชื่อของยา
1) ชื่อของผู้ป่วย
4) ขนาดของยา
5) วิถีทางการให้ยา
6) เวลาและความถี่ในการให้ยา
7) ลายมือผู้สั่งยา
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
1) ทางปาก (oral)
2) ทางสูดดม (inhalation)
3) ทางเยื่อบุ (mucous)
4)ทางผิวหนัง (skin)
5) ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular)
6) ทางชั้นผิวหนัง (intradermal)
7) ทางหลอดเลือดดำ
8) ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous /hypodermal)
รูปแบบการบริหารยา
6. รูปแบบการบริหารยา
1.Right patient/client(ถูกคน)คือการให้ยาถูกคน หรือถูกตัวผู้ป่วย
2.Right drug(ถูกยา)คือการให้ยาถูกชนิด
ครั้งแรกก่อนหยิบภาชนะใส่ยาออกจากที่เก็บ
ครั้งที่สอง ก่อนเอายาออกจากภาชนะใส่ยา
ครั้งที่สาม ก่อนเก็บภาชนะใส่ยาเข้าที่หรือก่อนทิ้งภาชนะใส่ยา
3.Rightdose(ถูกขนาด)คือการให้ยาถูกขนาดโดยการจัดยาหรือคำนวณยาให้มีขนาดและความเข้มข้นของยาตามคำสั่งการให้ยา
4.Right time(ถูกเวลา)คือการให้ยาถูกหรือตรงเวลา
4.2 การให้ยาหลังอาหารเป้าหมายเพื่อให้ยาได้สัมผัสกับอาหารเพื่อช่วยเรื่องการดูดซึม
4.3 การให้ยาช่วงใดก็ได้คืออาหารไม่มีผลต่อการดูดซึม
4.1 การให้ยาก่อนอาหาร
4.4 การให้แบบกำหนดเวลาหรือให้เฉพาะกับอาหารที่เฉพาะ
5.Rightroute(ถูกวิถีทาง)คือการให้ยาถูกทาง
6.Right technique(ถูกเทคนิค)คือการให้ยาถูกตามวิธีการ
7.Right documentation(ถูกการบันทึก)คือการบันทึกการให้ยาที่ถูกต้อง
Right to refuseคือการตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย
Right History and assessmentคือการซักประวัติและการประเมินอาการก่อน-หลังให้ยา
10.Right Drug-Drug Interaction and Evaluation คือการที่จะต้องให้ยาร่วมกัน
Right to Education and Informationคือก่อนที่พยาบาลจะให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้งชื่อยาที่จะให้ ทางที่จะให้ยา
หลักสำคัญในการให้ยา
6.ไม่ควรเตรียมยาค้างไว้
7.ไม่ให้ยาที่ฉลากมีการลบเลือนไม่ชัดเจน
5.ตรวจสอบวันหมดอายุของยาปกติแล้วยาเม็ดจะมีอายุอยู่ได้5 ปีและยาน้ำจะมีอายุได้3 ปี
8.ตรวจสอบผู้ป่วยก่อนให้ยาโดยการถามชื่อและนามสกุลก่อนทุกครั้ง
4.ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาจากตัวผู้ป่วยและญาติในกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวและทดสอบการแพ้ของยาบางชนิด
9.บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการให้ยา
3.ก่อนให้ยาต้องทราบวัตถุประสงค์การให้ยา
10.ต้องให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาลเพื่อป้องกันผู้ป่วยไม่ได้รับยา
2.ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ก่อนให้ยาทุกครั้ง
11.ลงบันทึกการให้ยาหลังจากให้ยาทันที
1.การให้ยาทางปากใช้หลักสะอาดและการฉีดยาใช้หลักaseptic technique
12.มีการประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
13.สังเกตอาการก่อนและหลังการให้ยาถ้ามีอาการผิดปกติเกิดขึ้นต้องรีบรายงานแพทย์ทันที
14.ในกรณีที่ให้ยาผิดต้องรีบรายงานให้พยาบาลหัวหน้าเวรรับทราบเพื่อหําทางแก้ไข
7.การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
7.1การให้ยาทางปาก
มีข้อควรปฏิบัติในการให้ยาทางปาก ดังนี้
4.ยาจิบแก้ไอควรให้ภายหลังรับประทานยาเม็ดแล้วเพื่อให้ยาค้างอยู่ที่คอไม่ถูกน้ำล้างออก
5.ยาลดกรดในกระเพาะอาหารควรให้อันดับสุดท้ายเพื่อช่วยลดอาการระคายเคืองและเคลือบผนังของหลอดอาหารและกระเพาะ
3.ยาชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
6.ยาอมใต้ลิ้น
2.กํารให้ยาเม็ดในเวลาเดียวกัน
1.ยาที่ระคายเคืองทางเดินอหารให้กินหลังอาหารหรือนม
การเตรียมยาตามขั้นตอน
5)ให้ผู้ป่วยรับประทานยาตรงตามเวลาในใบMAR
6)ดูเบอร์เตียงถามชื่อ-สกุลผู้ป่วยให้ตรงกับใบMAR
4)ดูชื่อขนาดยาให้ตรงกับใบMAR
7)แจกยาให้ผู้ป่วยรับประทานภายในเวลาที่กำหนด
3)ยาน้ำ
8)ประเมินสัญญาณชีพผู้ป่วยก่อนให้ยา
2)ยาชนิดMultidose
9)ให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาล
1)ยาชนิดUnit dose
10)สังเกตการเปลี่ยนแปลงหลังรับประทานยาเพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันท่วงที
11)บันทึกในแผนกํารพยาบาลและในใบMAR ทุกครั้งหลังให้ยา
7.2การให้ยาเฉพาะที่
ใช้หลักการบริหารยา 6 Rights
(4) การหยอดยาจมูก(Nose instillation)
(5) การเหน็บยา
8)วิธีการเหน็บยาทางทวารหนัก (Rectum suppository)
9)วิธีการเหน็บยาทางช่องคลอด (Vaginal suppository)
(3)การให้ยาทางหู(Ear instillation)
(2)การให้ยาทางตา(Eye instillation)
ยาหยอดตา
ยาป้ายตา
ยาล้างตา
(1)การสูดดม (Inhalation)
8.ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
8.1ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา(Prescription error)
(4)ผิดความถี่
(5)สั่งยาที่มีประวัติแพ้
(3)ผิดวิถีทาง
(6)ลายมือไม่ชัดเจน
(2)สั่งยาผิดชนิด
(1)สั่งยาผิดขนาด
8.2ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา(Transcribing error)
(3)ที่เภสัชกรรม
(2)ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์
(1)ที่หอผู้ป่วย
8.3ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา(Dispensing Error)
8.4ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา(Administration error
9.บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
5.เวรบ่ายพยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบ MAR กับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกันและดูยาในช่องลิ้นชักยาอีกครั้ง
6.กรณีผู้ป่วยที่NPO ให้มีป้ายNPO และเขียนระบุว่าNPO เพื่อผ่าตัดหรือเจาะเลือดเช้าให้อธิบายและแนะนำผู้ป่วยและญาติทุกครั้ง
4.การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยาเนื่องจากความผิดพลาดด้านบุคคลโดยเฉพาะยาน้ำ
7.กรณีคำสั่งสารน้ำ+ยําB co 2 mlให้เขียนคำว่า+ยาB co 2 ml ด้วยปากกาเมจิกอักษรตัวใหญ่บนป้ายสติ๊กเกอร์ของสารน้ำให้ชัดเจนเพื่อสังเกตได้ง่าย
3.เมื่อมีคำสั่งใหม่หัวหน้าเวรลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
8.การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้องแล้วในการจัดยาที่เป็นคำสั่งใหม่
2.กํารซักประวัติ
9.มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบคนละคนกันตรวจสอบช้ำก่อนให้ยา
1.เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาในครั้งแรกพยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์พร้อมกับเช็คยาและจำนวนให้ตรงตามฉลากยาหากไม่ตรงให้แจ้งเจ้าหน้าที่ทันที
10.การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้ง
11.ให้ยึดหลัก6R ตามที่กล่าวมาข้างต้น
10.สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล(Competencies of nurses for Rational Drug Use)
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา
1.3 ประเมินอาการที่ดีขึ้นหรือลดลง
1.4 ติดตามความร่วมมือในการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง
1.2 ประเมินอาการข้างเคียงจากการใช้ยา
1.5 การส่งต่อ
1.1 การประเมินประวัติโรคประจำตัว
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสม
2.5 พิจํารณําโรคร่วม ยําที่ใช้อยู่ กํารแพ้ยํา ข้อห้ํามกํารใช้ยํา
2.6 ค ํานึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกํารใช้ยําของผู้ป่วย
2.4 ใช้ความรู้ด้านเภสัชศาสตร์ของยาที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้จากปัจจัยต่อไปนี้
2.7 พัฒนําควํามรู้ให้เป็นปัจจุบัน
2.3 ประเมินความเสี่ยงและประโยชน์ของการใช้ยาและไม่ใช้ยา
2.8เข้ําใจเรื่องเชื้อดื้อยํา
2.2พิจารณาข้อมูลที่สำคัญของผู้ป่วยเพื่อประกอบการปรับขนาดยา
2.1 พิจารณาข้อมูลที่สำคัญของผู้ป่วย
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา
3.3 อธิบายเหตุผล
3.4 ประเมินความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอโดยไม่ด่วนตัดสิน
3.2 ระบุและยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล ค่านิยม ความเชื่อ และความคาดหวัง
3.5สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย/ผู้เกี่ยวข้องเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลโดยไม่คาดหวัง
3.1 ชี้แจงทางเลือกในการรักษา
3.6 ทำความเข้าใจกับการร่วมปรึกษาหารือก่อนใช้ยาเพื่อผลลัพธ์ที่นำไปสู่ความพึงพอใจของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
4.3 ตรวจสอบและคำนวณการใช้ยาให้ถูกต้อง
4.4 คำนึงถึงโอกาสที่จะเกิดการใช้ยาผิด
4.2 เข้าใจการสั่งจ่ายยาของแพทย์ตามกรอบบัญชียาหลักแห่งชาติ
4.5 ใช้ข้อมูลที่ทันสมัยเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
4.1 เข้าใจโอกาสที่จะเกิดผลไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ (Provide information)
5.3 แนะนำผู้ป่วย/ผู้ดูแลเกี่ยวกับแหล่งข้อมูล
5.4สร้างความมั่นใจให้ผู้ป่วย/ผู้ดูแล
5.2 ให้ข้อมูลเกี่ยวกับยาที่ชัดเจน
5.5 สนับสนุนผู้ป่วย/ผู้ดูแลให้มีส่วนรับผิดชอบในการจัดกํารตนเองเรื่องยาและภาวะเจ็บป่วย
5.1 ตรวจสอบความเข้าใจ
สามารถติดตามผลการรักษา
6.3ค้นหาและรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาโดยใช้ระบบการรายงานที่เหมาะสม
6.4 ปรับแผนกํารบริหํารยาให้ตอบสนองต่ออาการและความต้องการของผู้ป่วย
6.2ต้องมีการติดตามประสิทธิภาพของการรักษาและอาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยา
6.1 ทบทวนแผนการบริหารยาให้สอดคล้องกับแผนการรักษาที่ผู้ป่วยได้รับ
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย
7.1 รู้เกี่ยวกับชนิด สาเหตุ ของความคลาดเคลื่อนทางยาที่พบบ่อ
7.2 ระบุความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการสั่งยาผ่านสื่อหรือบุคคลอื่น
7.4 พัฒนาหาความรู้ให้ทันสมัยอยู่เสมอในประเด็นใหม่ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้ยา
7.5 รายงานความคลาดเคลื่อนในการใช้ยา
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม
สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่างต่อเนื่อง (Improveprescribingpractice)
สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Prescribe as part of a team)
11.กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การวางแผนการพยาบาล
4.การปฏิบัติการพยาบาล
การวินิจฉัยการพยาบาล
การประเมินผล
1.การประเมินสภาพ