Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.2 พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕, นางสาวเณสรา คามจังหาร…
5.2 พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติหลัก
ประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการ
ตามพระราชบัญญัตินี้และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
หมวด ๑
สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา ๕ บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มี
มาตรฐานและมีประสิทธิภาพตามที่กำหนดโดยพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๖ บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิตามมาตรา ๕ ให้ยื่นคำขอลงทะเบียนต่อสำนักงาน
หรือหน่วยงานที่สำนักงานกำหนด เพื่อเลือกหน่วยบริการ เป็นหน่วยบริการประจำ
มาตรา ๗ บุคคลที่ได้ลงทะเบียนแล้ว ให้ใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขได้จากหน่วย
บริการประจำของตนหรือหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายหน่วยบริการที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๘ ผู้ซึ่งมีสิทธิตามมาตรา ๕ ที่ยังไม่ได้ลงทะเบียนตาม
มาตรา ๖ อาจเข้ารับบริการครั้งแรกที่หน่วยบริการใดก็ได้
มาตรา ๙ ขอบเขตของสิทธิรับบริการสาธารณสุขของบุคคล
มาตรา ๑๐ ขอบเขตของสิทธิรับบริการสาธารณสุขของผู้มีสิทธิตามกฎหมาย
ว่าด้วยประกันสังคมให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม
มาตรา ๑๑ ในกรณีที่ลูกจ้างซึ่งมีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วย
เงินทดแทนผู้ใดใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการตามพระราชบัญญัติ
มาตรา ๑๒ ในกรณีที่ผู้ประสบภัยจากรถตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง
ผู้ประสบภัยจากรถผู้ใดใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการ
หมวด ๒
คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๓ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง
เรียกว่า “คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ”
มาตรา ๑๔ กรรมการตามมาตรา ๑๓ จะดำรงตำแหน่ง
กรรมการตามมาตรา ๔๘ในขณะเดียวกันมิได้
มาตรา ๑๕ กรรมการมาตรา ๑๓ วรรค ๑(๓) (๔) (๕) และ (๖)
ตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับเลือกหรือแต่งตั้งใหม่อีกได้
แต่จะดำรงตำแหน่งเกินกว่าสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๑๖ นอกจากการพ้นตำแหน่งตามวาระตามมาตรา
๑๕ วรรคหนึ่งแล้วกรรมการตามาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง (๓)
(๔) (๕) และ (๖) พ้นจากตำแหน่ง
มาตรา ๑๗ การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่
น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๑๘ คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๑๙ ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ควบคุมดูแลสำนักงาน
ให้ดำเนินกิจการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
มาตรา ๒๐ คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อให้
ปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
มาตรา ๒๑ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการตรวจสอบขึ้นคณะหนึ่ง
มีอำนาจหน้าที่ตรวจสอบการบริหารเงินและการดำเนินงานของสำนักงาน
มาตรา ๒๒ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้
คณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ แล้วแต่กรณี
มาตรา ๒๓ ให้กรรมการและอนุกรรมการได้รับเบี้ยประชุม ค่าใช้จ่ายในการ
เดินทางและค่าใช้จ่ายอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ ตามที่รัฐมนตรีกำหนด
หมวด ๓
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๒๔ ให้มีสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นหน่วยงาน
ของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรี
มาตรา ๒๕ ให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตั้ง
อยู่ที่กรุงเทพมหานคร หรือในเขตจังหวัดใกล้เคียง
มาตรา ๒๖ ให้สำนักงานมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๒๗ ทรัพย์สินของสำนักงานไม่อยู่ในความรับผิดแห่งบังคับคดี
มาตรา ๒๘ บรรดาอสังหาริมทรัพย์ที่สำนักงานได้มาโดยมีผู้บริจาคให้ หรือได้มาโดย
การซื้อหรือแลกเปลี่ยนจากรายได้ของสำนักงาน ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของสำนักงาน
มาตรา ๒๙ ให้คณะกรรมการเสนอขอรับงบประมาณรายจ่ายประจำปี
ต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของสำนักงาน
มาตรา ๓๐ การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสำนักงาน
ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๓๑ ให้สำนักงานมีเลขาธิการเป็นผู้รับผิดชอบการ
บริหารกิจการของสำนักงานให้เป็นไปตามกฎหมาย
มาตรา ๓๒ เลขาธิการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๓๓ เลขาธิการพ้นจากตำแหน่ง
มาตรา ๓๔ ให้เลขาธิการมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้
รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๓๕ ให้เลขาธิการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเป็นผู้
ดำรงตำแหน่งระดับสูงและให้ถือเป็นผู้ดำรงตำแหน่ง
มาตรา ๓๖ เลขาธิการมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๓๗ ให้มีสำนักตรวจสอบขึ้นในสำนักงานทำหน้าที่
เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะอนุกรรมการตรวจสอบ
หมวด ๔
กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๓๘ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสำนักงานหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ เรียกว่า “กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ”
มาตรา ๓๙ กองทุน
มาตรา ๔๐ การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน
กองทุน รวมทั้งการนำเงินกองทุนไปจัดหาผลประโยชน์
ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๔๑ ให้คณะกรรมการกันเงินจำนวนไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงินที่จะ
จ่ายให้หน่วยบริการไว้เป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้รับบริการ
มาตรา ๔๒ ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกิด
ขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการ
มาตรา ๔๓ ภายในสามเดือนนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณตาม
กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
หมวด ๕
หน่วยบริการและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา ๔๔ ให้สำนักงานจัดให้มีการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการและ
เครือข่ายหน่วยบริการแล้วประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ
มาตรา ๔๕ ให้หน่วยบริการมีหน้าที่
มาตรา ๔๖ หน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการตาม
มาตรา ๔๔ และหน่วยบริการที่รับการส่งต่อผู้รับบริการ
มาตรา ๔๗ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับบุคคลในพื้นที่
หมวด ๖
คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา ๔๘ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า
“คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข”
มาตรา ๔๙ การดำรงตำแหน่ง วาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจาก
ตำแหน่งและการประชุมของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน
มาตรา ๕๐ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน
มาตรา ๕๑ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
มาตรา ๕๒ ให้คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน
และคณะอนุกรรมการ มีอำนาจขอให้หน่วยงานของรัฐ
มาตรา ๕๓ ให้กรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานและอนุกรรมการได้รับค่าเบี้ยประชุม
หมวด ๗
พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๕๔ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๕๕ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้อง
แสดงบัตรประจำตัวแก่บุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง
มาตรา ๕๖ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้
พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด ๘
การกำกับมาตรฐานหน่วยบริการ
มาตรา ๕๗ ในกรณีที่สำนักงานตรวจสอบพบว่าหน่วยบริการ
ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขที่กำหนด
มาตรา ๕๘ ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา ๕๗
ปรากฏว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำหนด
ให้คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานดำเนินการ
มาตรา ๕๙ ในกรณีที่ผู้รับบริการผู้ใดไม่ได้รับความสะดวกตามสมควรหรือตามสิทธิที่จะได้รับบริการสาธารณสุขที่กำหนดตามพระราชบัญญัติ
มาตรา ๖๐ ในกรณีที่การกระทำผิดของหน่วยบริการตามมาตรา ๕๘
หรือมาตรา ๕๙ เป็นการกระทำผิดร้ายแรงหรือเกิดซ้ำหลายครั้ง
มาตรา ๖๑ ผู้ร้องเรียนหรือหน่วยบริการที่ได้รับคำสั่งจาก
คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานตามหมวดนี้
มาตรา ๖๒ เมื่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์
คำสั่งตามมาตรา ๖๑ ผลเป็นประการใดแล้ว
หมวด ๙
บทกำหนดโทษ
มาตรา ๖๓ ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน
มาตรา ๖๔ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกตามสมควรแก่พนักงาน
นางสาวเณสรา คามจังหาร 6001211078 เลขที่ 50 Sec A