Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่, นายศราวุฒิ เป็งมูล 6201210255…
บทที่ 4 การบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
1. วัตถุประสงค์ของการให้ยา
1.1 เพื่อการรักษา
1) รักษาตามอาการ
เช่น อาการปวด ให้ได้รับยาบรรเทาอาการปวด ให้ของเพื่อบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน เป็นต้น
2) รักษาเฉพาะโรค
เช่น ยาฆ่าเชื้อในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อ
3) ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
เช่น ผู้ป่วยเป็นโลหิตจางเพราะขาดธาตุเหล็ก ให้ได้รับเฟอรัส ซัลเฟต
4) ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
เช่น หัวใจเต้นเร็วเกินไป อาจได้รับยาดิจิทาลิส
1.2 เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
เช่น ฉีดวัคซีนบีซีจีเพื่อป้องกันวัณโรค ให้วิตามินเพื่อบำรุงร่างกายให้แข็งแรง
1.3 เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
เช่น ให้กลืนแป้งเบเรี่ยม ซัลเฟต แล้วเอ็กซเรย์เพื่อตรวจดูสภาพของกระเพาะอาหารและลำไส้
2. ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
2.1 อายุและน้ำหนักตัว
2.2. เพศ
2.3 กรรมพันธุ์
2.4 ภาวะจิตใจ
2.5 ภาวะสุขภาพ
2.6 ทางที่ให้ยา
2.7 เวลาที่ให้ยา
2.8 สิ่งแวดล้อม
3. ระบบการตวงวัดยา
3.1 ระบบอโพทีคำรี
ที่พบบ่อยดังนี้
20 เกรน (grain) = 1 สครูเปิล (scruple)
3 สครูเปิล (scruple) = 1 แดรม (dram)
8 แดรม (dram) = 1 ออนซ์ (ounce)
12 ออนซ์ (ounce) = 1 ปอนด์ (pound)
3.2 ระบบเมตริก
ที่พบบ่อยดังนี้
1 ลิตร = 1000 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 กิโลกรัม * = 1000 กรัม (gm)
1 กรัม * = 1000 มิลลิกรัม (mg)
1 มิลลิกรัม * = 1000 ไมโครกรัม (mcg)
1 กรัม = 1 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
3.3 ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน
ดังนี้
15 หยด * 1 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนชา * 5 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนหวำน 8 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนโต๊ะ * 15 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยชา 180 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยแก้ว 240 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
4. คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
ความถี่การให้ยา
ตัวย่อ ภาษาลาติน ความหมาย
OD
omni die วันละ 1 ครั้ง
bid
bis in die วันละ 2 ครั้ง
tid
ter in die วันละ 3 ครั้ง
_qid
quarter in die วันละ 4 ครั้ง
q 6 hrs
quaque 6 hora ทุก 6 ชั่วโมง
วิถีทางการให้ยา
ดังนี้
O รับประทำนทำงปำก
M เข้ำกล้ำมเนื้อ
SC เข้ำชั้นใต้ผิวหนัง
V เข้ำหลอดเลือดด ำ
ID เข้ำชั้นระหว่ำงผิวหนัง
subling อมใต้ลิ้น
Inhal ทำงสูดด
Nebul พ่นให้สูด
Supp เหน็บ /สอด
instill หยอด
เวลาการให้ยา
ดังนี้
a.c.
ante cibum ก่อนอำหำร
p.c.
post cibum หลังอำหำร
h.s.
hora somni ก่อนนอน
p.r.n.
pro re nata เมื่อจ ำเป็น
stat
statim ทันทีทันใด
5. คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
5.1 คำสั่งแพทย์
การเขียนคำสั่งแพทย์มี 4 ชนิด
5.1.1 คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป (Standing order / order for continuous)
เช่น การให้ยาปฎิชีวนะ Ofloxacin (200) 2 tab bid.pc x 5 days จะหยุดกำรให้ยำได้
เมื่อครบก ำหนดตำมที่แพทย์ระบุไว้คือ 5 วัน
5.1.2 คำสั่งใช้ภายในวันเดียว
(Single order of order for one day)
เช่น Tramal (50) 1 cap q 6 hr เมื่อครบ 24 ชั่วโมงคำสั่งนั้นก็ระงับ
5.1.3 คำสั่งที่ต้องให้ทันที (Stat order)
เช่น Diclofenac 1 amp M stat เมื่อปฏิบัติเสร็จแล้วยกเลิกได้
5.1.4 คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น (prn order)
เช่น มีไข้ ปวดแผล ชัก เป็นต้น
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
1) ชื่อของผู้ป่วย
2) วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
3) ชื่อของยา
4) ขนาดของยา
5) วิถีทางการให้ยา
6) เวลาและความถี่ในการให้ยา
7) ลายมือผู้สั่งยา
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
1) ทางปาก (oral)
ได้แก่ ยาเม็ด (tablet) ยาแคปซูล (capsule)
ยำน้ำเชื่อม (syrup) อีลิกเซอร์ (elixir) อีมัลชั่น (emulsion) ยำผง (powder) ยำน้ำผสม (mixture) ยาอม (lozenge)
2) ทางสูดดม (inhalation)
ได้แก่ ชนิดสเปรย์ (spray) พ่นทางสายให้
ออกซิเจน (nebulae)
3) ทางเยื่อบุ (mucous)
ได้แก่ ชนิดเม็ด (tablet) ใช้สอด (suppository) ทางช่องคลอด/ทวำรหนัก หรืออมใต้ลิ้น (sublingual)
4) ทางผิวหนัง (skin)
ได้แก่ ชนิดโลชั่น (lotion) ครีม (cream) ยาขี้ผึ้ง (ointment) ยาเปียก (paste) หรือยาถูนวด (inunction) ยาผงใช้โรย (powder)
5) ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular)
ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะยาที่ละลายในน้ำ
(aqueous solution) เท่านั้น
6) ทางชั้นผิวหนัง (intradermal)
ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะยาที่ละลายในน้ำ
(aqueous solution) เท่านั้น
7) ทางหลอดเลือดดำ (intravenous)
ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะยาที่ละลายในน้ำ
(aqueous solution) เท่านั้น
8) ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous / hypodermal)
ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะยาที่ละลายในน้ำ
(aqueous solution) เท่านั้น
5.2 คำนวณขนาดยา
ควำมเข้มข้นของยำ (ในแต่ละส่วน) = ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี
ส่วนด้วย ปริมาณยาที่มี
6. รูปแบบการบริหารยา
Right patient/client (ถูกคน)
Right drug (ถูกยา)
Right dose (ถูกขนาด)
Right time (ถูกเวลา)
4.1 การให้ยาก่อนอาหาร
4.2 การให้ยาหลังอาหารรเป้าหมาย
4.3 การให้ยาช่วงใดก็ได้
4.4 การให้แบบกำหนดเวลา
Right route (ถูกวิถีทาง)
Right technique (ถูกเทคนิค)
Right documentation (ถูกการบันทึก)
Right History and assessment คือการซักประวัติ และการประเมินอาการก่อน-หลังให้ยา
Right to refuse คือการตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยในการจัดการยา
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation คือการที่จะต้องให้ยาร่วมกัน
Right to Education and Information
คือก่อนที่พยาบาลจะให้ยำผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้ง
ชื่อยาที่จะให้ ทางที่จะให้ยา ผลการรักษา ผลข้ำงเคียงของยาที่อาจจะเกิด และอาการที่ต้องเฝ้าระวัง ก่อน การให้ยาทุกครั้ง
หลักสำคัญในการให้ยา
กำรให้ยาทางปากใช้หลักสะอาด และการฉีดยาใช้หลัก aseptic technique
ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ก่อนให้ยาทุกครั้ง
ก่อนให้ยาต้องทราบวัตถุประสงค์การให้ยา การวินิจฉัยโรค ผลของยา
ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาจากตัวผู้ป่วยและญาติ
ตรวจสอบวันหมดอายุของยาปกติ
ไม่ควรเตรียมยาค้างไว้
ไม่ให้ยาที่ฉลากมีการลบเลือนไม่ชัดเจน
ตรวจสอบผู้ป่วยก่อนให้ยาโดย
การถามชื่อและนามสกุลก่อนทุกครั้ง
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการให้ยาและผลข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
ต้องให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาลเพื่อป้องกันผู้ป่วยไม่ได้รับยา
ลงบันทึกการให้ยาหลังจากให้ยาทันที
มีการประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
สังเกตอาการก่อนและหลังการให้ยา
ในกรณีที่ให้ยาผิดต้องรีบรายงานให้พยาบาล
7.1 การให้ยาทางปาก
ข้อควรปฏิบัติ
ยาที่ระคายเคืองทางเดินอาหารให้กินหลังอาหาร
การให้ยาเม็ดในเวลาเดียวกัน สามารถรวมกันได้ส่วนยาน้ำให้แยกใส่แก้วยาต่างหาก
ยาชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
ยาจิบแก้ไอควรให้ภายหลังรับประทานยาเม็ด
ยาลดกรดในกระเพาะอาหารควรให้อันดับสุดท้ายย
ยาอมใต้ลิ้นแนะนำให้ห้ามกลืนหรือเคี้ยวยา
อุปกรณ์ในการให้ยาทางปาก
ดังนี้
1) ถ้วยยา หรือ Syringe
2) น้ำเปล่า
3) ถาดหรือรถใส่ยา
4) แบบบันทึกการให้ยา
การพยาบาลเพื่อให้ยาได้ถูกหลักการ
ดังนี้
1) ดูเบอร์เตียง ชื่อ นามสกุล ผู้ป่วยใน MAR ให้ตรงกัน
2) ดูชื่อยา ขนาดยาเวลาที่ให้ใน MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย
3) เตรียมยาให้ตรงกับ MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย
4) อ่านฉลากยาให้ตรงกับ MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย ดูวันที่หมดอายุของยำ
5) เทยา หรือรินยาให้ได้ตรงตามจำนวนกับขนาดของยาใน MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย
การเตรียมยาตามขั้นตอน
1) ยาชนิด Unit dose หยิบยาใส่ถ้วยยาจำนวนตามที่แพทย์สั่ง
2) ยำชนิด Multidose ค่อยๆ เทยำจำกซองยำหรือขวดที่บรรจุยำ
3) ยาน้ำ ให้หันป้ายยาหรือฉลากยาเข้าหาฝ่ามือ
4) ดูชื่อ ขนาดยาให้ตรงกับใบ MAR อีกครั้งก่อนเก็บยำเข้ำที
5) ให้ผู้ป่วยรับประทานยาตรงตามเวลาในใบ MAR
6) ดูเบอร์เตียง ถำมชื่อ -สกุลผู้ป่วยให้ตรงกับใบ MAR ของผู้ป่วย
7) แจกยาให้ผู้ป่วยรับประทานภายในเวลาที่กำหนด
8) ประเมินสัญญาณชีพผู้ป่วยก่อนให้ยา
9) ให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาล
10) สังเกตการเปลี่ยนแปลงหลังรับประทานยาเพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันท่วงที
11) บันทึกในแผนการพยาบาลและในใบ MAR ทุกครั้งหลังให้ยา
7.2 การให้ยาเฉพาะที่
(1) การสูดดม (Inhalation)
เป็นการให้ยาในรูปของก๊าซ (Gas) ไอระเหย (Vapor)
สามารถให้โดยการพ่นยาเข้าสู่ทางเดินหายใจ เพื่อให้ยาไปสู่บริเวณที่ต้องการให้ยาออกฤทธิ์
(2) การให้ทางตา (Eye instillation)
เนื่องจากดวงตำเป็นเนื้อเยื่อที่บอบบางมาก ติดเชื้อได้ง่าย การใช้ยาบริเวณตาจึงต้องคำนึงถึงความสะอาดเป็นสำคัญ
(3) การให้ยาทางหู (Ear instillation)
เป็นการหยอดยาเข้าไปในช่องหูชั้นนอก ยาที่ใช้
เป็นยาน้ำ ออกฤทธิ์เฉพาะเยื่อบุในช่องหู มักเป็นยาชาหรือยาฆ่าเชื้อโรคเฉพาะที่
(4) การหยอดยาจมูก (Nose instillation)
ให้ผู้ป่วยเงยหน้าขึ้น และพยาบาลยกปีกจมูก
ผู้ป่วยข้างที่จะหยอดยาขึ้นเบาๆ แล้วหยดยาผ่านทางรูจมูกห่างประมาณ 1-2 นิ้ว
(5) การเหน็บยา
วิธีการเหน็บยาทางทวารหนัก
วิธีการเหน็บยาทางให้ผู้ป่วยนอนตะแคงข้าง
ซ้าย และพยาบาลใส่ถุงมือสะอาด ยกแก้มก้นผู้ป่วยขึ้นจนเห็นรูทวารหนักชัดเจน จึงสอดใส่เม็ดยาเข้าไปคลอด
วิธีการเหน็บยาทางช่องคลอด
ควรทำหลังจากการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก แล้วให้ผู้ป่วยนอนหงาย
8. ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
8.1 ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescription error)
(1) สั่งยาผิดขนาด หมายถึง แพทย์สั่งใช้ยาที่มีขนาดมากเกิน Maximum dose
(2) สั่งยาผิดชนิด หมายถึง เขียนใบสั่งยา สั่งยาคนละชนิดกับที่ควรจะเป็น
(3) ผิดวิถีทาง หมายถึง เขียนใบสั่งยา สั่งใช้ยาผิดวิถีทาง ทำให้ใช้ยาไม่ถูกวิธี
(4) ผิดความถี่ หมายถึง เขียนใบสั่งยา วิธีรับประทานผิด
(5) สั่งยาที่มีประวัติแพ้ หมายถึง แพทย์สั่งยาที่ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา
(6) ลายมือไม่ชัดเจน หมายถึง เขียนใบสั่งยาด้วยลายมือที่ทำให้ผู้อ่านเข้าใจผิด
8.2 ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา (Transcribing error)
(1) ที่หอผู้ป่วย หมายถึง พยาบาลอ่านคำสั่งแพทย์ไม่ถูกต้อง
(2) ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ หมายถึง เจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่คัดกรองการลง
ข้อมูลยาในคอมพิวเตอร์ไม่ครอบคลุม
(3) ที่เภสัชกรรม หมายถึง เจ้าหน้าที่ห้องยา/เภสัชกร อ่านคำสั่งแพทย์ ไม่ถูกต้อง
8.3 ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing Error
คือ ความคลาดเคลื่อน ในกระบวนการจ่ายยาของกลุ่มงานเภสัชกรรม ที่จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคำสั่งใช้ยา
8.4 ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration error)
(1) การให้ยาไม่ครบ (Omission error)
(2) การให้ยาผิดชนิด (Wrong drug error)
(3) การให้ยาซึ่งผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง (Unordered or unauthorized drug)
(4) การให้ยาผู้ป่วยผิดคน (Wrong patient)
(5) การให้ยาผิดขนาด (Wrong-dose )
(6) การให้ยาผิดวิถีทาง (Wrong-route error)
(7) การให้ยาผิดเวลา (Wrong-time error)
(8) การให้ยามากกว่าจำนวนครั้งที่สั่ง (Extra-dose error)
(9) การให้ยาในอัตราเร็วที่ผิด
(Wrong rate of administration error)
(10) การให้ยาผิดเทคนิค (Wrong technique error)
(11) การให้ยาผิดรูปแบบยา (Wrong dosage-form error)
9. บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาในครั้งแรก
พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์
การซักประวัติ จะถามเรื่องการแพ้ยาทุกครั้ง
เมื่อมีคำสั่งใหม่ หัวหน้าเวร ลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยาเนื่องจากความผิดพลาด
เวรบ่าย พยาบาลจะตรวจสอบรายการยำในใบ MAR กับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกัน
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้าย NPO และเขียนระบุว่ำ NPO
กรณีคิดสั่งสารน้ำ+ยำ B co 2 ml ให้เขียนชัดเจนเพื่อสังเกตได้ง่าย
การจัดยาจะจัดตำมหน้ำชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้องแล้
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบซ้ำก่อนให้ยำ
การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้ง
ให้ยึดหลัก 6R ตำมที่กล่าวมาข้างต้น
10. สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Competencies of nurses for Rational Drug Use)
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจำเป็น
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ
สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจกการใช้ยาได
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ และเป็นไปตามหลักเวชจริยศาสตร์
สามำรถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่างต่อเนื่อง
สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ
11. กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที
1.การประเมินสภาพ
ก่อนให้ยาต้องหาข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้ป่วยและยาที่จะให้ผู้ป่วย ต้องทราบ ข้อมูลเกี่ยวกับการแพ้ยา ภาวะขณะที่จะให้ยา
2. การวินิจฉัยการพยาบาล
รวบรวมข้อมูลจากการประเมินสภาพได้ทั้งหมดแล้วนำมาจัดหมวดหมู่ข้อมูลที่เป็นปัญหา
3. การวางแผนการพยาบาล
ทำการวางแผนหาวิธีการวางจะให้ยาอย่างไร ผู้ป่วยจึงจะได้ยาถูกต้อง
4. การปฏิบัติการพยาบาล
ปฏิบัติการให้ยาตามแผนที่วางไว้ไปปฏิบัติ โดยยึดหลักความถูกต้อง 7 ประการ
5. การประเมินผล
หลังจากให้แล้วต้องกลับมาตามผลทุกครั้ง เพื่อดูผลของยาต่อผู้ป่วยทั้งด้านการรักษา และผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ รวมถึงการแพ้ยาด้วย
นายศราวุฒิ เป็งมูล 6201210255 เลขที่ 11 Sc.B วิชา SN 213