Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.1 พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐, นางสาวเณสรา คามจังหาร…
5.1 พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วัน
ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๑ สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา ๕ บุคคลมีสิทธิในการดำงชีวิตในสิ่งแวดล้อม
และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
มาตรา ๔ ให้นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
สาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจ
ออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๖ สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและ
สุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ ซึ่งมีความจำเพาะ ซับซ้อน
และมีอิทธิพลต่อสุขภาพหญิงตลอดช่วงชีวิต
มาตรา ๗ ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล
ผู้ใดจะนำไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทำให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้
มาตรา ๘ ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรด้าน
สาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการ
ให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียงพอ
มาตรา ๙ ในกรณีที่ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขประสงค์
จะใช้ผู้รับบริการเป็นส่วนหนึ่งของการทดลองในงานวิจัย
มาตรา ๑๐ เมื่อมีกรณีที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน
เกิดขึ้น หน่วยงานของรัฐที่มีข้อมูลเกี่ยวกับกรณีดังกล่าว
มาตรา ๑๑ บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินและมีสิทธิร่วมในกระบวนการประเมินผลกระทบ
ด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ
มาตรา ๑๒ บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการ
สาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน
หมวด ๒
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๓ ให้มีคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
เรียกโดยย่อว่า “คสช.”
มาตรา ๑๔ กรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖) (๗) (๘) (๙) และ
(๑๐) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๑๕ การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖) ให้ดำเนินการ
มาตรา ๑๖ การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๘) ให้เป็น
ไปตามวิธีการที่คณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะตาม
กฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะกำหนด
มาตรา ๑๗ การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๙) ให้เป็นไปตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการสรรหาประกาศกำหนด
มาตรา ๑๘ การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๑๐)
ให้คณะกรรมการสรรหาดำเนินการ
มาตรา ๑๙ ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่ง ซึ่ง คสช. แต่งตั้ง
มาตรา ๒๐ ให้คณะกรรมการสรรหามีหน้าที่และอำนาจ
มาตรา ๒๑ กรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖) (๗) (๘) (๙) และ (๑๐) มีวาระการ
ดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี โดยกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๗) (๘) (๙) และ
(๑๐) จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันมิได้
มาตรา ๒๒ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖)พ้นจากตำแหน่งเมื่อพ้นจากตำแหน่งตามที่ระบุไว้ในมาตรา ๑๕ (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) แล้วแต่กรณี
มาตรา ๒๔ หลักเกณฑ์และวิธีการการประชุม คสช. และการปฏิบัติงาน
ของ คสช.ให้เป็นไปตามระเบียบที่ คสช. กำหนด
มาตรา ๒๕ ให้ คสช. มีหน้าที่และอำนาจ
มาตรา ๒๓ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ
กรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖)(๗) (๘) (๙) และ (๑๐) พ้นจากตำแหน่ง
หมวด ๓
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๒๖ ให้จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติขึ้นเป็นหน่วยงาน
มาตรา ๒๗ ให้สำนักงานมีหน้าที่และอำนาจ
มาตรา ๒๘ รายได้ของสำนักงาน
มาตรา ๒๙ บรรดารายได้ของสำนักงานตามมาตรา ๒๘
ไม่เป็นรายได้ที่ต้องนำส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมาย
ว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
มาตรา ๓๐ การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสำนักงาน
ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการบริหารกำหนด
มาตรา ๓๑ ให้มีเลขาธิการคนหนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบการ
บริหารงานของสำนักงานขึ้นตรงต่อ คสช. มีหน้าที่ควบคุม
ดูแลโดยทั่วไปซึ่งงานของสำนักงาน และเป็นผู้บังคับ
บัญชาพนักงานและลูกจ้างในสำนักงาน
มาตรา ๓๒ ให้เลขาธิการมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจ
ได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันมิได้
มาตรา ๓๓ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระแล้ว เลขาธิการพ้นจากตำแหน่ง
มาตรา ๓๔ เลขาธิการมีหน้าที่และอำนาจ
มาตรา ๓๕ เงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของเลขาธิการให้
คณะกรรมการบริหารกำหนดตามหลักกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
มาตรา ๓๖ ให้เลขาธิการเป็นผู้แทนของสำนักงานใน
กิจการของสำนักงานที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก
มาตรา ๓๗ ให้ คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร
มาตรา ๓๘ การดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง การประชุมและการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการบริหาร ให้เป็นไปตามระเบียบที่ คสช. กำหนด
มาตรา ๓๙ คณะกรรมการบริหารมีหน้าที่และอำนาจ
หมวด ๔
สมัชชาสุขภาพ
มาตรา ๔๐ การจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ หรือสมัชชา
สุขภาพเฉพาะประเด็นหรือสนับสนุนให้ประชาชนรวมตัวกัน
เพื่อจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่
มาตรา ๔๑ ให้ คสช. จัดให้มีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
มาตรา ๔๒ ในการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ให้ คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติคณะหนึ่งมีจำนวนตามที่ คสช. กำหนด
มาตรา ๔๓ ให้คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ มีหน้าที่ในการจัดการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ กำหนดวัน เวลาและสถานที่ในการประชุม
มาตรา ๔๔ ผู้ใดประสงค์จะเข้าร่วมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติในการประชุมครั้งใด
มาตรา ๔๕ ในกรณีที่สมัชชาสุขภาพแห่งชาติมีข้อเสนอให้หน่วยงานของรัฐนำไปปฏิบัติ
หมวด ๕
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๔๖ ให้ คสช. จัดทำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการกำหนดนโยบาย
มาตรา ๔๗ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ต้อง
สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
มาตรา ๔๘ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
หมวด ๖
บทกำหนดโทษ
มาตรา ๔๙ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗ หรือมาตรา ๙ ต้องระวางโทษจำคุก
ไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๕๐ ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้สิน
และเงินงบประมาณของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขใน
ส่วนของสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๕๑ ให้นำบรรดาข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งที่
เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๕๒ ให้ถือว่าข้าราชการที่โอนมาตามมาตรา ๕๐ ออกจากราชการเพราะทางราชการเลิกหรือยุบตำแหน่งตามกฎหมาย
มาตรา ๕๓ ให้นำความในมาตรา ๕๒ มาใช้บังคับกับการออกจากราชการหรือออกจาก
งานของข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการที่สำนักงานรับเข้าทำงานด้วยโดยอนุโลม
มาตรา ๕๔ ให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพ
แห่งชาติอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๕๕ ในวาระเริ่มแรก ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาตาม
มาตรา ๑๙ ให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
นางสาวเณสรา คามจังหาร 6001211078 เลขที่ 50 Sec A