Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยา - Coggle Diagram
การบริหารยา
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
อายุและน้ําหนักตัว
ผู้สูงอายุมาก ๆ การทำงานของตับ และไตลดลง
จึงทําให้ยามีปฏิกิริยามากขึ้น ขนาดของยาที่ให้จึงต้องน้อยกว่าคนปกติ
ส่วนคนที่มีน้ําหนักตัว มากต้องได้รับขนาดของยาเพิ่มสูงขึ้น
เด็กเล็ก ๆ ตับและไตยังเจริญไม่เต็มที่
เพศ
ถ้าได้รับยาขนาดเท่ากัน ยาจะมี ปฏิกิริยาต่อผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
ผู้หญิงมีไขมันมากกว่าและมีของเหลวในร่างกายน้อยกว่าผู้ชาย
ยาบางชนิดละลายในไขมันได้ดี บางชนิดละลายในน้ําได้ดี
ปฏิกิริยาของยาจึงต่างกัน
ผู้ชายมีขนาดตัวใหญ่กว่าผู้หญิง น้ําหนักย่อมมากกว่า
พันธุกรรม
บางคนอาจมีความไวผิดปกติต่อยาบางชนิด
บางคนแพ้ยาง่าย ซึ่งอาจเกิดจาก พันธุกรรม
ภาวะจิตใจ
ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับยาเคมีบําบัด
สาเหตุมาจากจิตใจ เป็นการตอบสนองแบบมีเงื่อนไขจากการเรียนรู้
และจดจำประสบการณ์ที่ไม่ ดีจากการได้รับยาเคมีบําบัดครั้งก่อน
บางรายมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนมาก
ภาวะสุขภาพ
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหรือมีอาการป่วย เมื่อได้รับยาจะมีผลต่อ
การแสดงออกของฤทธิ์ ยาต่างจากคนปกติ
ทางที่ยาให้
ยาที่ให้ทางหลอดเลือดจะดูดซึมได้เร็วกว่ายาที่ให้รับประทานทางปาก
เวลาที่ให้ยา
ยาบางชนิดต้องให้เวลาที่ถูกต้องยาจึงออกฤทธิ์ตามที่ต้องการ
สิ่งแวดล้อม
ยาที่รักษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางชนิด
ต้องให้ผู้ป่วยอยู่ในที่สงบ เพื่อจะได้ พักผ่อน
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
เพื่อการรักษา เป็นการให้ยําเพื่อรักษําตํามสําเหตุของโรค ช่วยให้ผู้ป่วยบรรเทา ทุเลา และหายจากอาการหรือโรคที่เป็นอยู่
รักษาตามอาการ เช่น อาการปวด ให้ได้รับยาบรรเทาอาการปวด
ให้ของเพื่อบรรเทาอาการขึ้นไส้อาเจียน
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด เช่น ผู้ป่วยเป็นโลหิตจางเพราะขาดธาตุเหล็ก
ให้ได้รับเฟอรัส ซัลเฟต
ให้ให้ร่างกายปฎิบัติหน้าที่ตามปกติ เช่น หัวใจเต้นเร็วเกินไป
อาจได้รับยาดิจิทาลิส
รักษาเฉพาะโรค เช่น ยาฆ่าเชื้อในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อ
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
ให้วิตามินเพื่อ บํารุงร่างกายให้แข็งแรง
ฉีดวัคซีนบีซีจีเพื่อป้องกันวัณโรค
ระบบการตวงวัดยา
เพื่อสามารถคํานวณขนาดของยาได้ถูกต้องกรณีที่แพทย์
สั่งยาในระบบหนึ่ง
ระบบการตวงวัดยาที่พบใน ปัจจุบัน
ระบบเมตริก
เป็นน้ําหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
ระบบมาตรตวงวัดประจําบ้าน
มีหน่วยที่ใช้เป็น หยด ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว
สามารถเทียบได้กับระบบเมตริก
ระบบอโพทีคารี
เป็นน้ําหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
คําสั่งแพทย์ในกํารรักษาส่วนใหญ่ใช้เป็นคําย่อและสัญลักษณ์ พยาบาลจึงจําเป็นต้อองความหมาย โดยคําย่อที่ใช้บ่อย
คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
คำสั่งแพทย์
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
ชื่อของยา
ลายมือผู้สั่งยา
ขนาดของยา
เวลาและความถี่ในการให้ยา
วิถีทางการให้ยา
ชื่อของผู้ป่วย
ต้องเขียนทั้งชื่อและนามสกุลของผู้ป่วยห้ามเขียนแต่ชื่อเพียงอย่างเดียว เพราะว่าอาจเกิดความผิดพลาดเกิดขึ้นได้หากมีชื่อซ้ำกัน
ปัจจุบันจะเป็นป้ายชื่อสติ๊กเกอร์ที่พิมพ์ออก จากเครื่องพิมพ์แล้วปิดแทนการเขียนเพื่อความสะดวกและป้องกันการผิดพลาด
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
ทางผิวหนัง (skin)
ยาที่ใช้ทําบริเวณผิวหนังของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าร่างกายทางผิวหนัง ชนิดของกาาปรุงยาเป็นลักษณะต่างๆ กัน
ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular)
ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางกล้ามเนื้อของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้า ร่างกายทางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นกล้ามเนื้อ
ชนิดของกาาปรุงยาเป็นลักษณะยําที่ละลายในน้ํา (aqueous solution) เท่านั้น
ทางเยื่อบุ (mucous)
ยาที่ใช้สอดใส่หรือหยอดทางอวัยวะต่างๆ ของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าทาง เยื่อบุสู่ระบบไหลเวียนของเลือดบริเวณอวัยวะนั้น
ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะต่างๆ กัน ได้แก่ ชนิด เม็ด(tablet)
ใช้สอด(suppository)ทํางช่องคลอด/ทวารหนักหรืออมใต้ลิ้น(sublingual) หรือยาที่ ละลายในน้ํา (aqueous solution) ใช้หยอด (instillate)
ใช้ล้าง (irrigate)
ทางชั้นผิวหนัง (intradermal)
ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางชั้นผิวหนังของผู้ป่วย โดยดูดซึม เข้าร่างกายทางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นผิวหนัง
ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะยาที่ละลายในน้ํา (Aqueoussolution) เท่านั้น
ทางสูดดม (inhalation)
ยาที่ใช้พ่นให้ผู้ป่วยสูดดมทางปากหรือจมูก โดยดูดซึมททางระบบ
ทางเดินหายใจ
ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะต่างๆ กัน ได้แก่ ชนิดสเปรย์ (spray)
พ่นททางสายให้ ออกซิเจน (nebulae)
ทางหลอดเลือดดำ (intravenous)
ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดําของผู้ป่วย โดยเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดโดยตรง
ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะยาที่ละลายในน้ํา (aqueous solution) เท่านั้น
ทางปาก (oral)
ยาที่ให้ผู้ป่วยรับประทานทางปาก โดยยาจะดูดซึมทางระบบทางเดิน อาหารและลําไส้
ชนิดของการปรุงยามีลักษณะต่างๆ กัน ได้แก่ ยาเม็ด (tablet)
ยาแคปซูล (capsule) ยาน้ำเชื่อม(syrup)อีลิกเซอร์(elixir)
อีมัลชั่น(emulsion)ยาผง(powder)ยาน้ำผสม(mixture) ยาอม (lozenge)
ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous / hypodermal)
ยาที่ใช้ฉีดเข้าที่ใต้ผิวหนังของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าระบบไหลเวียนเลือด
ที่ชั้นใต้ผิวหนัง
ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะสารละลาย (Aqueous solution) เท่านั้น
การเขียนคําสั่งแพทย์มี 4 ชนิด
คําสั่งใช้ภายในวันเดียว (Single order of order for one day)
เป็นคําสั่งที่ใช้ได้ใน 1 วัน เมื่อได้ให้ยาไปแล้วเมื่อครบก็ระงับไปได้เลย
คําสั่งที่ต้องให้ทันที (Stat order)
เป็นคําสั่งการให้ยาครั้งเดียวและต้องให้ทันที
คําสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป
(Standing order / order for continuous)
เป็นคําสั่งที่ สั่งครั้งเดียวและใช้ได้ตลอดไปจนกว่าจะมีคําสั่งระงับ (discontinue)
แพทย์อาจระบุวันที่ระงับ ยาไว้เลยก็ได้
คําสั่งที่ให้เมื่อจําเป็น (prn order)
เป็นคําสั่งที่กําหนดไว้ให้ปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยมีอาการบางอย่างเกิดขึ้น
พยาบาลจะต้องใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจ คําสั่งการ รักษานี้
อาจกำหนดไว้ใน order for continuous หรือ order for one day ก็ได้
คำนวณขนาดยา
การคํานวณยาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา
รูปแบบการบริหารยา
Right documentation (ถูกการบันทึก)
การบันทึกการให้ยาที่ถูกต้อง โดยพยาบาลลง นามในเวลาเดียวกับที่ให้ยากับผู้ป่วยในเอกสารที่ได้กําหนดไว้ เพื่อให้ข้อมูลการให้ยาเป็นปัจจุบัน
สามารถสื่อสารกับพยาบาลหรือวิชสชีพอื่นทีเกี่ยวข้องในเรื่องการให้ยา เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการให้ยา ซ้ำซ้อน มีบันทึกการลงลายมือชื่อผู้ให้ยา วัน เวลาที่ให้ยา ชื่อยาที่ให้ ปริมาณที่ให้ ทางที่ให้ยา
Right to refuse
การตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยในการจัดการยา
ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะปฏิเสธการใช้ยาหากเขามีความสามารถในการทำ
เช่นนั้น
Right technique (ถูกเทคนิค)
การให้ยาถูกตามวิธีการใช้เทคนิคที่เหมาะสม โดยการเตรียมยาและให้ยาที่ถูกต้องยึดหลักการปลอดเชื้อสําหรับยารับประทานทางปาก
และหลักการปราศจาก เชื้อสําหรับยาฉีด
Right History and assessment
การซักประวัติ และการประเมินอาการก่อน-หลังให้ยา โดยการสอบถามข้อมูล/ ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยทุกครั้งก่อนการให้ยา
Right route (ถูกวิถีทาง)
กาาให้ยาถูกทาง โดยการให้ยาแก่ผู้ป่วยตามที่แพทย์สั่งการรักษาเป็นการประกันว่าผู้ป่วยได้รับยาสอดคล้องกับวิถีกํารบริหารยา
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation
การที่จะต้องให้ยาร่วมกัน จะต้องดูก่อนว่ายานั้นสามารถให้ร่วมกันได้ไหม เมื่อให้ร่วมกันจะมีผลทําให้ยาออกฤทธิ์มากขึ้นหรือน้อยลง หรือมีผลต่อประสิทธิภาพยา ระยะเวลาที่ยาคงอยู่ในร่างกายเป็นอย่างไร
Right time (ถูกเวลา)
การให้ผู้ป่วยรับประทานยาที่สัมพันธ์กับมื้ออาหารอย่างไม่เหมาะสมจะทําให้ ระดับยา ในกระแสเลือดสูงหรือต่ำที่ควรจะเป็น
การให้ยาควรให้ถูกเวลาเพื่อการออกฤทธิ์ที่เหมาะสมที่สุด
ระดับยา ในกระแสเลือดสูงหรือต่ำกว่าที่ควรจะเป็น
การให้ยาถูกหรือตรงเวลา โดยการให้ยาตรงตามเวลาหรือความถี่
ตามคำสั่งการให้ยา
การออกฤทธิ์ที่เหมาะสมที่สุด
การให้ยาหลังอาหารเป้าหมายเพื่อให้ยาได้สัมผัสกับอาหารเพื่อช่วยเรื่องการดูดซึม
การให้ยาช่วงใดก็ได้คืออาหารไม่มีผลต่อการดูดซึมดังนั้นจึงให้ช่วง
เวลาใดก็ได้
การให้ยาก่อนอาหาร เพื่อไม่ต้องการให้ยาได้สัมผัสกับอาหาร
การให้แบบกําหนดเวลาหรือให้เฉพระกับอาหารที่เฉพาะ
Right to Education and Information
ก่อนที่พยาบาลจะให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้ง
ชื่อยาที่จะให้ทางที่จะให้ยาผลกํารรักษาผลข้างเคียงของยาที่อาจจะเกิด
และอาการที่ต้องเฝ้าระวังก่อน
Right dose (ถูกขนาด)
การให้ยาถูกขนาด โดยการจัดยาหรือคํานวณยาให้มีขนาดและ ความเข้มข้นของยาตามคำสั่งการให้ยา
ผู้ป่วยได้รับขนาดยาโดยรวมเป็นไปตามที่แพทย์ ต้องการและขนาดยาที่ผู้ป่วยได้รับมีความสอดคล้องหรือเหมาะสมกับโรคหรืออาการของผู้ป่วย
การให้ยา ขาดหรือเกินจากขนาดที่แพทย์สั่ง จะส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับยาไม่ครบตามแผนการรักษาเป็นความคาด เคลื่อนที่พบบ่อย
Right drug (ถูกยํา)
ครั้งสอง
ก่อนเอายาออกจากภาชนะใส่ยา
ครั้งสาม
ก่อนเก็บภาชนะใส่ยาเข้าที่หรือก่อนทิ้งภาชนะใส่ยา
ครั้งแรก
ก่อนหยิบภาชนะใส่ยาออกจากที่เก็บ
Right patient/client (ถูกคน)
เช็คชื่อผู้ป่วยทุก ครั้งก่อนให้ยาหรือก่อนฉีดยาเทียบกับใบ Medication administration record
วิธีการคือให้ถามผู้ป่วยว่า “คุณชื่ออะไรคะ” แล้วให้ผู้ป่วยตอบชื่อตนเอง หรืออาจตรวจที่ป้ายชื่อข้อมือ เป็นการประกันว่า ให้ยาถูกตัวผู้ป่วย
การให้ยาถูกคน หรือถูกตัวผู้ป่วย
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
การให้ยาทางปาก
ข้อควรปฏิบัติในการให้ยาทางปาก
ยาชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
ยาจิบแก้ไอควรให้ภายหลังรับประทานยาเม็ดแล้วเพื่อให้ยาค้างอยู่ที่คอไม่ถูกน้ําล้างออก
การให้ยาเม็ดในเวลาเดียวกัน สามารถรวมกันได้ ส่วนยาน้ำ
ให้แยกใส่แก้วยาต่างหาก
ยาลดกรดในกระเพาะอาหารควรให้อันดับสุดท้ายเพื่อช่วยลดอาการระคายเคืองและเคลือบผนังของหลอดอาหารและกระเพาะ
ยาที่ระคายเคืองททางเดินอาหารให้กินหลังอาหารหรือนม
ยาอมใต้ลิ้น
การให้ยาที่สามารถรับประทานทางปากได้ ซึ่งอาจเป็นชนิดยาเม็ด
ยาแคปซูล ยาผง หรือยาน้ำ นับว่าเป็นวิธีที่ง่าย สะดวก และปลอดภัยที่สุด
ไม่ควรให้ยาทางปากในผู้ป่วยที่ คาสายให้อาหารสู่กระเพาะ (NG-tube) หรือผู้ป่วยที่มีอาการอาเจียน ไม่รู้สึกตัว
การลงบันทึกจะช่วยป้องกันการให้ยาช้า กรณีไม่ได้ให้ยา
การให้ยาเฉพาะที่
เป็นการให้ยาภายนอกเฉพาะตําแหน่ง
เพื่อรักษาหรือบรรเทาอาการเฉพาะที่
หลักการบริหารยา 6 Rights
การให้ยาทางตา (Eye instillation)
กาาใช้ยาบริเวณตาจึงต้องคำนึงถึงความสะอาดเป็นสําคัญ ยาที่ใช้กับตา
มีทั้งยาหยอดตา ป้ายยา และยาล้างตา
การให้ยาทางหู (Ear instillation)
เป็นการหยอดยาเข้าไปในช่องหูชั้นนอก
ยาที่ใช้ เป็นยาน้ํา ออกฤทธิ์เฉพาะเยื่อบุในช่องหู
มักเป็นยาชาหรือยาฆ่าเชื้อโรคเฉพาะที่
การสูดดม (Inhalation)
เป็นการให้ยาในรูปของก๊าซ (Gas) ไอระเหย (Vapor) หรือ ละออง (Aerosol) สามารถให้โดยการพ่นยาเข้าสู่ทางเดินหายใจ
เพื่อให้ยาไปสู่บริเวณที่ต้องการให้ยาออก ฤทธิ์ ยาออกฤทธิ์แบบเฉพาะที่หรือแบบทั่วร่างกาย
การหยอดยาจมูก (Nose instillation)
ให้ผู้ป่วยเงยหน้ําขึ้น และพยาบาลยกปีกจมูก
ผู้ป่วยข้างที่จะหยอดยาขึ้นเบาๆ
การเหน็บยา
เป็นกรรให้ยาที่มีลักษณะเป็นเม็ด เข้าทางเยื่อบุตามอวัยวะต่าง ๆ
ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่ คือ
วิธรการเหน็บยาทางช่องคลอด (Vaginal suppository)
วิธีการเหน็บยาทางทวารหนัก (Rectum suppository)
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา (Transcribing error)
ความคลาดเคลื่อน ของกระบวนการคัดลอกคําสั่งใช้ยาจากคําสั่งใช้ยาต้นฉบับที่ผู้สั่งใช้ยาเขียน
จําแนกตามสถานที่ที่เกิดความ
คลาดเคลื่อนขึ้น
ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์
ที่เภสัชกรรม
ที่หอผู้ป่วย
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing Error)
ความคลาดเคลื่อนใน กระบวนการจ่ายยาของกลุ่มงานเภสัชกรรม
ที่จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคําสั่งใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนนี้ส่งผลให้ผู้ป่วย ได้รับยาที่ไม่ถูกต้อง หรือไม่เหมาะสม
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescription error)
ความคลาดเคลื่อนที่พบในใบสั่งยา (ใบ Order) อาจเกิดจากแพทย์เขียนผิดพลาด หรือไม่ชัดเจนรวมถึงการเลือกใช้ยาผิด
การให้คําแนะนําการใช้ยาผิดการสั่งยาผิดตัวผู้ป่วย หรือการ ไม่ระบุชื่อยา ความแรง ความเข้มข้น ความถี่ของการใช้ยา ที่ทําให้เกิดความคลาดเคลื่อนที่ส่งผลถึงตัว ผู้ป่วย
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา แบ่งเป็นประเภทดังนี้
สั่งยาผิดขนรด
สั่งยาผิดชนิด
ผิดวิถีทาง
ผิดความถี่
ลายมือไม่ชัดเจน
สั่งยาที่มีประวัติแพ้
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration error)
ความคลาด เคลื่อนที่ทําให้ผู้ป่วยได้รับยาผิดไปจากความตั้งใจ
ในการสั่งยาของผู้สั่งใช้ยา
การสั่งยาของผู้สั่งใช้ยา จําแนกได้ 11 ข้อ (11R)
การให้ยาซึ่งผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง (Unordered or unauthorized drug)
การให้ยาผู้ป่วยผิดคน (Wrong patient)
การให้ยาผิดชนิด (Wrong drug error)
การให้ยาผิดขนาด (Wrong-dose or Wrong-strength error)
การให้ยาไม่ครบ (Omission error)
การให้ยาผิดวิถีทาง (Wrong-route error)
การให้ยาผิดเวลา (Wrong-time error)
การให้ยามากกว่าจํานวนครั้งที่สั่ง (Extra-dose error)
การให้ยาในอัตราเร็วที่ผิด (Wrong rate of administration error)
การให้ยาผิดเทคนิค (Wrong technique error)
การให้ยาผิดรูปแบบยา (Wrong dosage-form error)
การบริหารยาที่ แตกต่างไปจากคําสั่งใช้ยาของผู้สั่งใช้ยาที่เขียนไว้ในใบบันทึกประวัติกํารรักษาผู้ป่วย
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Competencies of nurses for Rational Drug Use)
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ
(Provide information)
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ และเป็นไปตามหลักเวชจริยศาสตร์ (Prescribe professionally)
สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้ (Monitor and review)
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา โดยพิจารณาจากข้อมูลทางเลือกที่ถูกต้องเหมาะสมกับบริบทและเคารพในมุมมองของ
ผู้ป่วย (Reach a shared decision)
สามารถพัฒนําความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่างต่อเนื่อง (Improve prescribingpractice)
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจําเป็น (Consider the options)
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม (Prescribe safely)
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา หรือมีความจำเป็นต้องใช้ยาในการรักษา (Assess the patient)
สามารถทํางานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล(Prescribe as part of a team)
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การวินิจฉัยการพยาบาล
การประเมินผู้ป่วย
การประเมินสภาพ