Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การเฝ้าระวังโรคและการสอบสวนทางวิทยาการระบาด - Coggle Diagram
บทที่ 5 การเฝ้าระวังโรคและการสอบสวนทางวิทยาการระบาด
การสอบสวนทางวิทยาการระบาด
ดำเนินการควบคุมและป้องกัน
การให้การดูแลและการรักษาแบบประคับประคอง
โรคซึมเศร้าไม่ใช่โรคระบาดที่สามารถติดต่อกันได้
วัตถุประสงค์
เกิดที่ไหน
เกิดกับใคร
เกิดเมื่อไหร่
เกิดอะไรขึ้น
เกิดขึ้นอย่างไหร่
การเตรียมการก่อนการสอบสวน
เตรียมแบบบันทึกข้อมูลทั่วไป ประกอบด้วยคําาถามเกี่ยวกับ เพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษา และข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพทั่วไป
แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า (Khon KaenUniversity Depression Inventory) สร้างโดยสุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล23 มีข้อคําาถามจําานวน 30 ข้อ
เตรียมบุคลากรทางการแพทย์ หน่วยประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดนิยามและค้นหาผู้ป่วย
ผู้มีอาการโรคซึมเศร้า มีการดื่มสุราเป็นประจํา
มีความคิดฆ่าตัวตาย
มีโรคเรื้อรังทางกาย
ได้รับการส่งต่อไปรับการตรวจวินิจฉัยและรักษาจากโรงพยาบาลจิตเวช
เป็นโรคจิตที่เกิดจากการดื่มสุรา
การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
ความหมาย
การเฝ้าระวังเป็นการดำเนินงานที่เป้นระบบและต่อเนื่อง เพื่อติดตามสถานการณ์ที่้เกี่ยวข้องกับสุขภาพ โดยการกำหนดและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด (Epidemiology surveillance)
การติดตามสังเกตและพิจารราอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแลงของลีกษณะการเกิดและการกระจายตัวของโรค โดยข้อมูลการเฝ้าระวังจพนำเสนอรายละเอียดตามลักษณะ บุคคล เวลา สถานที่
การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข (Public health surveillance)
การจัดเก็บ การวิเคราะห์และการแปลผลข้อมูลทางสาธารณสุข ที่ดำเนินการอย่างเป้นระบบและต่อเนื่อง เพื่อใช้ประโยชน์ในด้านการวางแผนการจัดทำมาตรการ ป้องกัน ควบคุมปัญหาสาธารณสุข
การเฝ้าระวังโรค (Disease surveillance)
การเฝ้าสักเกตอย่างต่อเนื่อง เกี่ยวกับการกระจายและแนวโน้มของอุบัติการณืของโรคโดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ
รูปแบบของการเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวังเชิงรุก (Passive surveillance)
เป็นเก็บของมูลโดยหน่วยงานเอง เก็บรวบรวมข้อมูล ติดตามโดยจะใช้วิธีการสัมภาษณ์และให้ประเมินตนเอง จะทำการเก็บรวบรวมข้อมูลทันที
การเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive surveillance)
การเฝ้าระวังเฉพาะกลุ่มหรือการเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ (Sentinel surveillance)
การเฝ้าระวังกลุ่มอาการ ( Syudromic surveillance)
เป็นการเฝ้าระวังที่อาสัยการรายงานอาการและอาการแสดงของผู้ป่วยเป็นรายๆโดยผู้ป่วยไม่จำเป้นต้องได้รับการวินิจฉัยชัดเจน แต่จะดุว่ามีอาการหรืออาการแสดงที่กำลังสนใจเฝ้าระวังอยู่หรือไม่
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ ( Event- based surveillance)
กระบวนการเฝ้าระวัง
การจัดเก็บข้อมุล (Data collection)
เป็นการรวบรวมข้อมูลและการเรียบเรียงข้อมูล ที่มีความน่าเชื่อถือ
1.1 การรรายงานตามความสมัครใจ เป็นการรายงานผลการสังเกตการณ์เกิดโรคหรืออาการของโรคที่ผิดปกติโดยบุคลากรทางการแพทย์
การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis)
มีข้อคําาถามจําานวน 30 ข้อประกอบด้วยอาการของภาวะซึมเศร้า จําานวน 16 ข้อ อาการทางกาย จําานวน 7 ข้อ พฤติกรรมเชื่องช้ากว่าปกติ จําานวน 3 ข้อ และไม่อยากรับประทานอาหาร จําานวน 4 ข้อ
การแปลผลข้อมูล
การแปลผลคะแนน ถ้าได้คะแนนมากกว่า 20 ขึ้นไปแสดงว่าผู้ตอบมีอาการของโรคซึมเศร้าถ้าคะแนนเท่ากับ 20 หรือตํา่ากว่าถือว่าไม่มีอาการ โรคซึมเศร้า
การเผยแพร่ข้อมูลหรือการให้ข้อมูลย้อนหลัง
องค์ประกอบการเฝ้าระวังใน 5 กลุ่ม 5 มิติ
ระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 กลุ่ม
1.1 ระบบการเฝ้าระวังโรคติดต่อทั่วไป การเฝ้าระวังโรคติดต่อทั่วไป มีโรคอยู๋ 9 กลุ่มย่อย โรคระหว่างสัตว์ โรคทางเดินอาหารและน้ำ และโรคอื่นๆ
1.2 ระบบะเฝ้าระวังโรคเอดส์และวัณโรค
1.3 ระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง บุหรี่ สุรา
1.4 ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ
1.5 ระบบการเฝ้าระวังโรคจากอาชีพและสิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบการเฝ้าระวังแต่ละกลุ่มโรคใน 5 มิติ
2.1 ปัจจัยต้นเหตุ
2.4 การติดเชื้อ การป่วย การตาย ความพิการ
2.3 การตอบสนองของแผนงานควบคุมโรค
2.5 เหตุการณ์ผิดปกติและการระบาด
2.2 พฤติกรรมเสี่ยง
องค์ประกอบของการเฝ้าระวัง
นิยามของสิ่งที่ทำการเฝ้าระวัง
ประชากรที่ทำการเฝ้าระวัง
ความถูกต้องและเป็นตัวแทนของประชาชน
4.วงจรของการเฝ้าระวัง
5.การรักษาความลับ
อ้างอิง
สถิตย์ วงศ์สุรประกิต, สมพร สันติประสิทธิ์กุล. สถานการณ์โรคซึมเศร้าในกลุ่มเสี่ยงโดยการตรวจคัดกรอง ในเขตอําาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย สืบค้นเมื่อวันที่ 14 ก.ค. 2563 จาก
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/5471/4775