Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 10 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร…
หน่วยที่ 10
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับประถมศึกษา
10.1 บริบทเกี่ยวข้องกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ระดับประถมศึกษา
10.1.1 แนวคิดการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับประถมศึกษา
แนวคิดหลักการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับประถมศึกษา การมีแนวคิดหลักที่จะเน้นการเรียนรู้ที่ยึดเอาการทำงาน การแก้ปัญหาบนพื้นฐานที่ใช้หลักการและทฤษฎีเป็นหลักทั้งในด้านการทำงานและการแก้ปัญหา
ความเป็นมาและความสำคัญของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การจัดประสบการณ์การสาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับประถมนั้นมีการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนที่เป็นรูปธรรมเรื่อยมาอย่างสม่ำเสมอ โดยที่หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) มีความคาดหวังให้ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็นอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้พร้อมที่จะทำประโยชน์กับสังคมตามบทบาทหน้าที่ของตน และเป็นหลักสูตรที่เน้นกระบวนการมากกว่าเนื้อหา
3.องค์ความรู้เกี่ยวกับสาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
3.1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
3.2 เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
3.3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.4 โพรโทคอล
3.5 ข้อมูล
3.6 สารสนเทศ
3.7 ระบบสารสนเทศ
3.8 เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.9 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
10.1.2 องค์ประกอบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีและการสื่อสาร ระดับประถมศึกษา
เรื่องที่ 10.1.2 องค์ประกอบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีและการสื่อสาร ระดับประถมศึกษา
หลักสูตร
สาระการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนการสอน
แนวทางการจัดประสบการณ์เรียนรู้
การวัดผลและประเมินผล
ตอนที่ 10.2
เนื้อหา สื่อ และการประเมินผลการเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระดับประถมศึกษา
เรื่องทิ่ 10.2.1 เนื้อหาสาระ สื่อ และแหล่งเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับประถมศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงาน และอาชีพอย่างมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสารการแก้ปัญหา การทำงาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม
สื่อ
ความหมายของสื่อและแหล่งเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับประถมศึกษา
ความสำคัญของสื่อและแหล่งเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับประถมศึกษา
2.1 สื่อกับผู้เรียน
2.2 สื่อกับผู้สอน
ประเภทของสื่อและแหล่งเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับประถมศึกษา
3.1 สื่อสาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับประถมศึกษา
1) จำแนกสื่อการสอนตามคุณสมบัติวัสดุ
วัสดุ (Materials)
อุปกรณ์ (Equipment)
วิธีการ เทคนิค หรือกิจกรรม (Method Technique or Activities)
2) จำแนกสื่อการสอนตามแบบ
วัสดุกราฟิก (Graphic Materials)
วัสดุและเครื่องฉาย (Projector materials and Equipment)
วัสดุถ่ายทอดเสียง (Transmission)
สิ่งพิมพ์ (Printed Materials)
(3) จำแนกสื่อการสอนตามประสบการณ์
(4) จำแนกสื่อการสอนประเภทสื่ออิเล็กทรอนิกส์
แหล่งเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับประถมศึกษา
1) แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคลและองค์กรในชุมชน
2) แหล่งเรียนรู้ประเภททรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น
3) แหล่งเรียนรู้ประเภทอาคาร สถานที่ และสิ่งก่อสร้าง
4) แหล่งเรียนรู้ประเภทศิลปะ วัฒนธรรมและจารีตประเพณี
5) แหล่งเรียนรู้ประเภทสื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยี
การเลือกใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1) วิธีการสอน (Instruction Method)
2) งานการเรียนรู้ (Learning Task)
3) ลักษณะของผู้เรียน (Learner Characteristics)
4) ข้อจำกัดในทางปฏิบัติ (Practical Constrain)
5) ผู้สอนหรือครู (Teacher)
เรื่องที่ 10.2.2 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับประถมศึกษา
ความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับประถม
ด้านการจัดการเรียนรู้
1.1 เพื่อจัดตำแหน่ง
1.2 เพื่อวินิจฉัย
1.3 เพื่อตรวจสอบและปรับปรุง
1.4 เพื่อการเปรียบเทียบ
1.5 เพื่อการตัดสิน
ด้านการแนะแนว
ด้านการบริหาร
ด้านการวิจัย
ประเภทของการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินก่อนเรียน
การวัดและประเมินระหว่างเรียน
การวัดและประเมินหลังเรียน
ตอนที่ 10.3 การจัดการการเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระดับประถม
10.3.1 การจัดการเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระดับประถมศึกษา
10.3.2 การจัดการเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารด้วยโครงงานคอมพิวเตอร์