Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
1.1 เพื่อการรักษา
รักษาตามอาการ
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
รักษาเฉพาะโรค
ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
1.2 เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
ฉีดวัคซีนบีซีจีเพื่อป้องกันวัณโรค
ให้วิตามินเพื่อบำรุงร่างกายให้แข็งแรง
1.3 เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
ให้กลืนแป้งเบเรี่ยม ซัลเฟต
เอ็กซเรย์เพื่อตรวจดูสภาพของ
กระเพาะอาหารและลำไส้
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
เพศ
กรรมพันธ์
เวลาที่ให้ยา
อายุและน้ำหนักตัว
ทางที่ให้ยา
ภาวะสุขภาพ
สิ่งแวดล้อม
ภาวะจิตใจ
ระบบการตวงวัดยา
3.1 ระบบอโพทีคารี
3 สครูเปิล (scruple) = 1 แดรม (dram)
8 แดรม (dram) = 1 ออนซ์ (ounce)
20 เกรน (grain) = 1 สครูเปิล (scruple)
12 ออนซ์ (ounce) = 1 ปอนด์ (pound)
3.2 ระบบเมตริก
1 กิโลกรัม * = 1000 กรัม (gm)
1 กรัม * = 1000 มิลลิกรัม (mg)
1 ลิตร = 1000 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 มิลลิกรัม * = 1000 ไมโครกรัม (mcg)
1 กรัม = 1 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
การเปลี่ยนหน่วยระบบอโพทีคารี เป็น ระบบเมตริก
15 เกรน (grain)= 1 กรัม (gram) gm
1 แดรม (dram) =4 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 แดรม =4 กรัม
1 ออนซ์* =30 กรัม (30 ซี.ซี.)
2.2 ปอนด์ =1000 กรัม (1 กิโลกรัม)
1 เกรน (grain) * =60 มิลลิกรัม (mg)
1 ปอนด์= 450 กรัม
3.3 ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน
1 ช้อนโต๊ะ *= 15 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยชา =180 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
15 หยด *= 1 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนหวาน= 8 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยแก้ว= 240 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนชา *= 5 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
ความถี่การให้ยา
ตัวย่อ
qid
วันละ 4 ครั้ง
bid
วันละ 2 ครั้ง
q 6 hrs
ทุก 6 ชั่วโมง
OD
วันละ 1 ครั้ง
tid
วันละ 3 ครั้ง
วิถีทางการให้ยา
ตัวย่อ
ID
เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
subling
อมใต้ลิ้น
V
เข้าหลอดเลือดดำ
SC
เข้าชั้นใต้ผิวหนัง
M
เข้ากล้ามเนื้อ
Nebul
พ่นให้สูดดม
Supp
เหน็บ / สอด
O
รัับประทานทางปาก
instill
หยอด
Inhal
ทางสูดดม
เวลาการให้ยา
ตัวย่อ
h.s.
ก่อนนอน
p.r.n
เมื่อจำเป็น
p.c
หลังอาหาร
stat
ทันทีทันใด
a.c
ก่อนอาหาร
คำสั่งแพทย์คำนวณขนาดยา
5.1 คำสั่งแพทย์
4.คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น (prn order)
3.คำสั่งที่ต้องให้ทันที(Stat order)
2.คำสั่งใช้ภายในวันเดียว (Single order of order for one day)
1.คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป (Standing order / order focontinuous) จนกว่าจะมีคำสั่งระงับ
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
4) ขนาดของยา
5) วิถีทางการให้ยา
3) ชื่อของยา
6) เวลาและความถี่ในการให้ยา
2) วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
7) ลายมือผู้สั่งยา
1) ชื่อของผู้ป่วย
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
รูปแบบเดียวกัน คือ
ชื่อยา – ขนาด – จำนวน – ทางที่ให้ – ความถี่
วิถีทางการให้ยา,ชนิดของการปรุงยา,ตัวอย่างการเขียนคำสั่งการให้ยา
1) ทางปาก (oral)เช่น
capsule
Amoxicillin (500mg) 1 cap tid.pc + hs
syrup
Paracetamol syr. (250 mg) 15 c.c. PRN for fever q 4-6 hrs
tablet
Vitamin C (100) 1 tab bid.pc
2) ทางสูดดม (inhalation)เช่น
spray
Bricanyl 1-2 puff inhal bid
Nebulae
Bricanyl 1-2 drops nebul bid
3) ทางเยื่อบุ (mucous)เช่น
aqueous solution
Sancoba 1-2 drops instill eye bid
tablet
Nitroglycerine 1 tab sublingual bid
Suppository
Mycostatin 1 tab supp hs
4) ทางผิวหนัง (skin)เช่น
Cream
Hand E blam applied q bid
5) ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular)เช่น
aqueous solution
Paracetamol 500 mg 1 amp M PRN q 4-6 hrs for fever
6) ทางชั้นผิวหนัง (intradermal)เช่น
aqueous solution
TAT diluted skin test
7) ทางหลอดเลือดดำ (intravenous)เช่น
Aqueous solution
Cefazolin 1 gm v q 6 hr.
8) ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous / hypodermal) เช่น
aqueous solution
Regular insulin (RI) 10 U sc stat and if blood sugar >130 mg
5.2 คำนวณขนาดยา
ความเข้มข้นของยา (ในแต่ละส่วน) = ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี / ปริมาณยาที่มี
รูปแบบการบริหารยา
ยืดหลักถึง 11 ข้อ ดังนี้
Right patient/client (ถูกคน) คือการให้ยาถูกคน
Right drug (ถูกยา) คือการให้ยาถูกชนิด
Right dose (ถูกขนาด) คือการให้ยาถูกขนาด
Right time (ถูกเวลา) คือการให้ยาถูกหรือตรงเวลา
การให้ยาก่อนอาหาร
การให้ยาหลังอาหาร
การให้ยาช่วงใดก็ได้คืออาหารไม่มีผลต่อการดูดซึม
การให้แบบกำหนดเวลาหรือให้เฉพาะกับอาหารที่เฉพาะ
Right route (ถูกวิถีทาง) คือการให้ยาถูกทาง
Right technique (ถูกเทคนิค) คือการให้ยาถูกตามวิธีการ
Right documentation (ถูกการบันทึก) คือการบันทึกการให้ยาที่ถูกต้อง
Right to refuse คือการตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย
Right History and assessment คือการซักประวัติและการประเมินอาการก่อน-หลังให้ยา
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation คือการที่จะต้องให้ยาร่วมกัน
Right to Education and Information คือก่อนที่พยาบาลจะให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้งชื่อยาที่จะให้
หลักสำคัญในการให้ยา
ไม่ให้ยาที่ฉลากมีการลบเลือนไม่ชัดเจน
ตรวจสอบผู้ป่วยก่อนให้ยาโดยการถามชื่อและนามสกุล
ไม่ควรเตรียมยาค้ำงไว
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการให้ยา
ตรวจสอบวันหมดอายุของยาปกติ
ต้องให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาล
ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาจากตัวผู้ป่วยและญาติ
ลงบันทึกการให้ยาหลังจากให้ยาทันที
ก่อนให้ยาต้องทราบวัตถุประสงค์การให้ยา
มีการประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ก่อนให้ยาทุกครั้ง
สังเกตอาการก่อนและหลังการให้ยา
การให้ยาทางปากใช้หลักสะอาด
ในกรณีที่ให้ยาผิดต้องรีบรายงาน
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
7.1 การให้ยาทางปาก
มีข้อควรปฏิบัติในการให้ยา
ยาชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
ยาจิบแก้ไอควรให้ภายหลังรับประทานยาเม็ด
การให้ยาเม็ดในเวลาเดียวกัน สามารถรวมกันได
ยาลดกรดในกระเพาะอาหารควรให้อันดับสุดท้าย
ยาที่ระคายเคืองทางเดินอาหารให้กินหลังอาหารหรือนม
ยำอมใต้ลิ้น ควรให้หลังจากรับประทานยาทุกชนิด
อุปกรณ์ในการให้ยาทางปาก
2) น้ำเปล่า หรือ น้ำส้ม หรือน้ำหวาน
3) ถาดหรือรถใส่ยา
1) ถ้วยยา หรือ Syringe
4) แบบบันทึกการให้ยา
การพยาบาลเพื่อให้ยาได้ถูกหลักการ
3) เตรียมยาให้ตรงกับ MAR
4) อ่านฉลากยาให้ตรงกับ MAR
2) ดูชื่อยา ขนาดยา เวลาที่ให้MAR
5) เทยา หรือรินยาให้ได้ตรงตามจำนวนกับขนาด
1) ดูเบอร์เตียง ชื่อ นามสกุล ผู้ป่วยMAR
การเตรียมยาตามขั้นตอน
ยาน้ำ ให้หันป้ายยาหรือฉลากยาเข้าหาฝ่ามือ
ดูชื่อ ขนาดยาให้ตรงกับใบ MAR
ยาชนิด Multidose ค่อยๆ เทยาจากซองยาหรือขวด
ให้ผู้ป่วยรับประทานยาตรงตามเวลาในใบ MAR
ยาที่หุ้มมาด้วย Foil ให้แกะยาที่เตียงของผู้ป่วย
ดูเบอร์เตียง ถามชื่อ -สกุลผู้ป่วยให้ตรงกับใบ MAR
ยาชนิด Unit dose หยิบยาใส่ถ้วยยา
แจกยาให้ผู้ป่วยรับประทานภายในเวลาที่กำหนด
ประเมินสัญญาณชีพผู้ป่วยก่อนให้ยา
ให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาล
สังเกตการเปลี่ยนแปลงหลังรับประทานยา
บันทึกในแผนการพยาบาลและในใบ MAR ทุกครั้ง
7.2 การให้ยาเฉพาะที่
(1) การสูดดม (Inhalation) เป็นการให้ยาในรูปของก๊าซ
(2) การให้ยาทางตา (Eye instillation) เนื่องจากดวงตาเป็นเนื้อเยื่อที่บอบบาง
(3) การให้ยาทางหู(Ear instillation) เป็นการหยอดยาเข้าไปในช่องหูชั้นนอก
(4) การหยอดยาจมูก (Nose instillation)
(5) การเหน็บยา เป็นการให้ยาที่มีลักษณะเป็นเม็ด
วิธีการเหน็บยาทางช่องคลอด (Vaginal suppository)
วิธีการเหน็บยาทางทวารหนัก (Rectum suppository)
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
8.1 ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา
สั่งยาผิดขนาด
สั่งยาผิดชนิด
ผิดวิถีทาง
ลายมือไม่ชัดเจน
ผิดความถี่
สั่งยาที่มีประวัติแพ้
8.2 ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา
ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์
ที่เภสัชกรรม
ที่หอผู้ป่วย
8.3 ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา
รูปแบบยา
ความแรงยา
ผิดชนิดยา
ขนาดยา
วิธีใช้ยา
จำนวนยาที่สั่งจ่าย
จ่ายยาผิดตัวผู้ป่วย
จ่ายยาที่เสื่อมสภาพ เตรียมยาผิด
8.4 ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
การให้ยาไม่ครบ (Omission error)
การให้ยาผิดชนิด (Wrong drug error)
การให้ยาซึ่งผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง (Unordered or unauthorized drug)
การให้ยาผู้ป่วยผิดคน (Wrong patient)
การให้ยาผิดขนาด (Wrong-dose or Wrong-strength error)
การให้ยาผิดวิถีทาง (Wrong-route error)
การให้ยาผิดเวลา (Wrong-time error)
การให้ยามากกว่าจำนวนครั้งที่สั่ง (Extra-dose error)
การให้ยาในอัตราเร็วที่ผิด (Wrong rate of administration error)
การให้ยาผิดเทคนิค (Wrong technique error)
การให้ยาผิดรูปแบบยา (Wrong dosage-form error)
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
พยาบาลควรปฏิบัติดังนี้
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้าย NPO
กรณีคำสั่งสารน้ำ+ยาB co 2 ml ให้เขียนคำว่า +ยา B co 2 ml ด้วยปากกาเมจิก
เวรบ่าย พยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบ MAR
การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้อง
การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยา
ผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ
เมื่อมีคำสั่งใหม่ หัวหน้าเวร ลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้ง
การซักประวัติ
ให้ยึดหลัก 6R ตามที่กล่าวมาข้างต้น
พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Competencies of nurses for Rational Drug Use)
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสม
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ
สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจเกิด
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม
สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยา
สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
1.การประเมินสภาพ
ประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การได้รับสารน้ำเพียงพอหรือไม่
ประวัติการแพ้ยา
ความรู้ความเข้าใจเรื่องยาที่ได้รับ
ประเมินดูว่าผู้ป่วยมีข้อห้ามในการให้ยาทางปากหรือไม่
การปฏิบัติตัวในการได้รับยา
การวินิจฉัยการพยาบาล
การกลืนบกพร่องเนื่ิองจาก
เสี่ยงต่อการสำลักเนื่องจาก
ขาดความรู้เกี่ยวกับยาเนื่องจาก
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผล เช่น
หลังจากได้รับยา30 นาที ไม่มีอาการแพ้ยา
สามารถบอกการปฏิบัติตัวขณะได้รับยาได้ถูกต้อง
สามารถอธิบายวัตถุประสงค์ของการให้ยาได้ถูกต้อง