Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปองค์ความรู้บทที่ 6 - Coggle Diagram
สรุปองค์ความรู้บทที่ 6
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า (IUGR)
เจริญเติบโตช้าผิดปกติ น้ำหนักแรกคลอดต่ำกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 10
ทารกที่มีขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์
ขนาดเล็กตามธรรมชาติ
มารดาตัวเล็ก
พันธุกรรม
IUGR
เจริญเติบโตช้าผิดปกติ
ทุพโภชนาการ
สาเหตุ
ด้านมารดา
รูปร่างเล็ก ขาดสารอาหาร
โลหิตจางรุนแรง ติดเชื้อ
โรคของมารดา ตั้งครรภ์แฝด
ด้านทารก
พิการแต่กำเนิด
ติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์
ความผิดปกติโครโมโซม
จำแนกประเภท IUGR
ทารกโตช้าไนครรภ์แบบได้สัดส่วน
ภาวะทุพโภชนาการ
ความผิดปกติโครโมโซม & การติดเชื้อ
ได้รับยา & สารเสพติด
พิการแต่กำเนิดเกี่ยวกับหัวใจ & หลอดเลือด
ทารกโตช้าในครรภ์แบบไม่ได้สัดส่วน
ประวัติโรคหัวใจ & หลอดเลือด, โรคไต
ครรภ์แฝด
ผิดปกติของรก & สายสะดือ
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ขนาดมดลูกเล็กกว่าอายุครรภ์ 3 cm. ขึ้นไป
นน.เพิ่มขึ้นน้อย/ไม่เพิ่มเลย
ตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง
วัด AC,BPD,HC,FL
ปริมาน้ำคร่ำ & เกรดของรก
การรักษา
ค้นหาและลดปัจจัยเสี่ยง
เฝ้าระวังสุขภาพของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
กําหนดเวลาการคลอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนําการรับประทานอาหาร หลีกเลี่ยงการใช้ยาหรือสารเสพติด
พักผ่อนมากๆ นอนตะแคงซ้าย
แนะนําให้มารดานับลูกดิ้นทุกวัน
ระยะคลอด
ประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์ & ความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินการหดรัดตัวมดลูก & เสียงหัวใจ
หลีกเลี่ยงการให้ยาแก้ปวด
ระยะหลังคลอด
ดูแลทารกเพื่อเฝ้าระวัง
ภาวะน้ำคร่ำผิดปกติ
ภาวะน้ำคร่ำผิดปกติ
Polyhydramnios
การพยาบาล
ระยะคลอด
ฟัง FHS
ประเมินการหดรัดตัวมดลูก
นอนพักบนเตียง
ระยะตั้งครรภ์
บรรเทาอึดอัดแน่นท้อง
ดูแลให้ได้รับการดูดน้ำคร่ำ
ทานอาหารย่อยง่าย
สังเกตอาการ
นอนตะแคงซ้าย ศีรษะสูง 30 องศา สวมเสื้อหลวมสบาย
ประเมินการเกิดภาวะตั้งครรภ์
การดูแลรักษา
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ให้ยาขับปสว. ยายับยั้งการหดรัดตัวมดลูก
ทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
รักษาด้วยยา
เจาะดูดน้ำคร่ำ (amnioreduction)
การวินิจฉัย
ห้องปฏิบัติการ
AFI ได้ค่า >24 cm.
ตรวจร่างกาย
นน.เพิ่ม 1 kg./week
คลำส่วนต่างๆของทารกได้ลำบาก
FHS ไม่ได้ยิน
หน้าท้องขยายใหญ่
ซักประอาการ
ผลกระทบ
ต่อทารก
อยูท่าผัดปกติไม่คงที่
ภาวะ fetal distress
พิการ คลอดก่อนกำหนด
ต่อมารดา
ระยะตั้งครรภ์ ไม่สุขสบายจากการกดทับของมดลูกที่ใหญ่
ตกเลือด ติดเชื้อหลังคลอด
ช็อก
คลอดก่อนกำหนด
แบ่งเป็น 2 ชนิด
อย่างเรื้อรัง(chronic)
อายครรภ์ 30 weekขึ้นไป
อาการ
หายใจลำบาก อึดอัด
เกิดขึ้นอย่างช้าๆ
อย่างเฉียบพลัน(acute)
ปวดหลัง หายใจลำบาก คลื่นไส้ อาเจียน ผนังหน้าท้องบวม คลำส่วนต่างๆของทารกไม่ได้
เพิ่มขึ้นรวดเร็วภายใน 2-3 วัน
อายุครรภ์ 20-24 week
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุ
พบบ่อยที่สุด ไม่พบความผิดปกติของมารดาและทารก
ด้านทารก
การกลืนของทารก ความผิดปกติระบบประสาท ความพิการ
ด้านมารดา
มารดาเป็นโรค ตั้งครรภ์แฝด
ความหมาย
น้ำคร่ำมากผิดปกติเกินเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 95 หรือ 97.5 ของแต่ละอายุครรภ์ หรือ > 2,000 ml. หรือ AFI ได้ 24-25 cm.
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
Olighydramnios
การพยาบาล
รับฟังปัญหา แสดงความเห็นอกเห็นใจ
ดูแลใส่สารน้ําเข้าไปในถุงน้ําคร่ำ
อธิบายถึงสาเหตุ
การรักษา
ไตรมาสสาม
เฝ้าตรวจ NST, วัดดัชนีน้ําคร่ำ, biophysical profile
ไตรมาสสอง
ประเมินภาวะความผิดปกติแต่กําเนิด & รักษา IUGR
ดื่มน้ํามากๆ
เติมน้ําคร่ำ (amnioinfusion)
ไตรมาสแรก
เฝ้าระวังภาวะแท้ง & ติดตามด้วยเครื่องอลั ตราซาวน์
การวินิจฉัย
AFI ค่า < 5 cm.
การวัดโพรงน้ําคร่ำที่ลึกที่สุดในแนวดิ่ง (MVP)
ผลกระทบ
ต่อทารก
Amnioticband syndrome
ภาวะ fetal distress, ปอดแฟบ
IUGR, คลอดก่อนกำหนด
ต่อมารดา
ผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง
สาเหตุ
IUGR, ตั้งครรภ์เกินกำหนด
รกเสื่อมสภาพ
ความผิดปกติโครโมโซม
ทารกในครรภ์มีภาวะผิดปกติ โดยเฉพาะระบบของไต & ทางเดินปสว.
ถุงน้ําคร่ำแตกก่อนกําหนด
ความหมาย
น้ําคร่ำน้อยกว่า 300 ml. + ความผิดปกติของทารก
และโครโมโซม
ตั้งครรภ์ที่ทารกมีจํานวน > 1คน
มีทารก > 1 คนขึ้นไป อยู่ในกลุ่มการตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูง (high risk pregnancy)
ชนิดและสาเหตุ
แฝดแท้
ปฏสินธิจากไข่1ใบ ตัวอสุจิ 1 ตัว
มีรูปร่าง หน้าตา เพศ เหมือนกัน
สาเหตุ
เชื้อชาติ อายุ พันธุกรรม
แฝดเทียม
ไข่ 2 ใบผสมกับอสุจิ 2 ตัว
สาเหตุ
เชื้อชาติ พบมากในคนผิวดํา
พันธุกรรม
อายุ > 35 ปี
ภาวะโภชนาการ
ประวัติใช้ยากระตุ้นเร่งการตกไข่
จํานวนครั้งการตั้งครรภ์
ผลกระทบ
ต่อมารดา
ระยะตั้งครรภ์
คลื่นไส้อาเจียนมาก
โลหิตจาง, ความดันโลหิตสูง
ตกเลือดก่อนคลอด
ปวดหลัง ไม่สุขสบาย
แท้ง/คลอดก่อนกําหนด/ถุงน้ำคร่ำแตกก่อน
ตั้งครรภ์แฝดน้ํา
เบาหวานขณะตั้งครรภ์
ระยะคลอด
มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ, รกลอกตัวก่อนกำหนด
ระยะหลังคลอด
ตกเลือด, ติดเชื้อ
ต่อทารก
แท้ง, คลอดก่อนกำหนด
ตายในครรภ์, IUGR
อยู่ในท่าผิดปกติ, ขาด O2
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย,หน้าท้อง,ภายใน
ขนาดของมดลูก
คลําพบ ballottement
คลําได้ small part > ปกติ
ฟังเสียงหัวใจทารก
ตรวจพิเศษ
U/S
ฮอร์โมน estriol, HCG, HPL สูง
ถ่ายภาพรังสีทางหน้าท้อง
การรักษา
วินิจฉัยให้ได้เร็วที่สุด
ป้องกันการคลอดก่อนกําหนด
ดูแลการเจริญเติบโต
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลให้ได้รับอาหารอย่างเพียงพอ
เฝ้าระวังการเกิดโลหิตจาง, ความดันโลหิตสูง
งดมีเพศสัมพันธ์
ติดตาม IUGR
ระยะคลอด
พิจารณาวิธีการคลอด
ประเมินจากสูติแพทย์ให้คลอดทางช่องคลอด
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือด
ป้องกันการติดเชื้อ
แนะนําเลี้ยงทารกด้วยนม
แนะนําวิธีการคุมกําเนิด
ทารกพิการ (Fetal anormaly)
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
ความผิดปกติโครโมโซม,ยีนเดียว,ยีนหลายตัว+ ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม,
สิ่งแวดล้อม
ความผิดปกติของทารก
Malformation
ผิดปกติทางรูปร่างของอวัยวะ
Disruption
ผลจากปัจจัยภายนอกมาขัดขวางขบวนการเจริญเติบโตของอวัยวะ
Deformation
เดิมเคยปกติมาก่อน มีผลมาจากแรงภายนอก
Dysplasia
ความผิดปกติของการจัดระเบียบของเซลล์
การป้องกัน
ก่อนการตั้งครรภ์มีภาวะเสี่ยง ทําพงศาวลี
ตั้งครรภ์ วินิจฉัยก่อนคลอด
ให้คำปรึกษาภายหลังการตรวจวินิจฉัย
หลีกเลี่ยงการสัมผัส Teratogen
ปากแหว่งเพดานโหว่
โรคปากแหว่ง
ผิดปกติริมฝีปากเพดานส่วนหน้าแยกจากกันช่วง 4-7สัปดาห์
โรคเพดานโหว่
บริเวณเพดานส่วนหลังแยกจากกัน ช่วง 12 สัปดาห์
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
สิ่งแวดล้อม
ติดเชื้อ,ขาดวิตามิน & สารโฟเลท,
อาการและอาการแสดง
ปากแหว่ง
อมหัวนมหรือจุกนมไม่ได้
ลมรั่วเข้าไปขณะดูดนม
เพดานโหว่
สําลักน้ํานมขึ้นจมูก,เข้าช่องหูชั้นกลาง/ปอด
การวินิจฉัย
U/S อายุครรภ์ 13-14 week
ตรวจร่างกาย
พิการริมฝีปากบนแหว่งแต่แรกเกิด
เพดานโหว่
สอดนิ้วตรวจเพดานภายในปาก
ร้องไห้ อ้าปาก
การพยาบาล
ดูแลด้านจิตใจ
แนะนําเกี่ยวกับการดูแล
ดูแลการให้นมแม่
ปากแหว่ง
สอนมารดาให้นิ้วโป้งปิดบริเวณช่องปาก
เพดานโหว่
ยดด้วย syringe ที่ต่อกับสายยางนิ่ม
ท่านอน
มารดาตะแคงซ้าย ทารกนอนหงาย
ท่านอนขวางตักประยุกต์ & ท่าฟุตบอล
แนะนํามารดาให้ใช้เพดานเทียม
ดาวน์ซินโดรม
สาเหตุ
โครโมโซมเกินไป 1 แท่ง
คือ คู่ที่ 21 มี 3 แท่ง
อาการ
ศรีษะ ตา แบนกว้าง ทอยท้อยแบน
จมูกไม่มีสัน ใบหูเล็ก
ปากและคอ มีเพดานปากโค้งนูน
ท้องยื่น กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อนยาน
มือกว้างและสั้น
วินิจฉัย
ตรวจ chorionic villus
ซักประวัติครอบครัว
การรักษา
ประคับประคอง
ภาวะน้ําคั่งในโพรงสมอง
(Hydrocephalus)
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ตรวจหน้าท้อง
ตรวจพิเศษ
การรักษา
ขณะตั้งครรภ์
ติดตามการเปลี่ยนแปลง
ยุติการตั้งครรภ์
รักษาด้วยการใส่ shunt
ทารก
ท่านอน การหายใจ ให้ความอบอุ่น
วัดขนาดรอบศีรษะทารกทุกวัน
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
ทารกศีรษะเล็ก
(Microcephaly)
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
ศรีษะเล็ก หน้าผากเล็ก
ใบหูใหญ่
ผลการตรวจทางห้องทดลอง
การรักษา
มุ่งเน้นใหเ้ ด็กสามารถมีชีวิต อยู่ได้นานมากข้ึน
รักษาตามอาการ
การพยาบาล
ดูแลท่านอน,การหายใจ,ให้ความอบอุ่น
สังเกตการณเ์ ปลี่ยนแปลง
บันทึกอาการ & อาการแสดง
ภาวะหลอดประสาทไม่ปิด
NTDs
2 กลุ่ม
Open type NTDs
การเปิดของ neural tissue
Closed type NTDs
สาเหตุของการเกิด NTDs
Genetic factors
Environmental factors
เยื่อหุ้มไขสันหลังยื่น (Spina bifida)
2 ชนิด
ชนิดเปิด
ปกคลุมด้วยผิวหนัง/เยื่อหุ้มหนา
ชนิดปิด
ถุงยื่นออกมาคลุมด้วยเยื่อหุ้มใส
การวินิจฉัย
อาการแสดงโดยตรง กระดูกสันหลังแยก
ซักประวัติ
ได้รับ
เบาหวาน
ตรวจพบปริมาณน้ำคร่ำ
อาการแสดง
ก้อนสีแดง
นุ่มบั้นเอว,สะโพก,กระดูกสันหลัง
การรักษา
ชนิด spina bifida cystica ผ่าตัดปิดซ่อมแซมภายใน 24-48 hr.
การพยาบาล
นอนท่าตะแคง/นอนคว่ำ
รักษาตามอาการ
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
ให้ folic acid
ทารกตายในครรภ์
Fetal demise
แบ่งชนิดการได้ 3 ชนิด
ระยะแรก (early)
ตายก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ระยะกลาง (intermediate)
ตายระหว่างอายุครรภ์ 20-28 สัปดาห์
ระยะสุดท้าย (late)
ตั้งแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์
สาเหตุ
ด้านมารดา
ภาวะแทรกซ้อน
HT,DM
อายุ > 35 ปี
ไม่มาฝากครรภ์
ผิดปกติของรก
ด้านทารก
พิการแต่กำเนิด
IUGR
กดทับสายสะดือ
ด้านรก
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ติดเชื้อ เส้นเลือดอุดกั้นในสายสะดือ
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
นน.ตัวลด,เต้ามนมเล็ก
คลํายอดมดลูกไม่พบว่าทารกมีการเคลื่อนไหว
ฟังเสียงหัวใจทารกไม่ได้
พบสิ่งคัดหลั่งสีน้ําตาล
ทางห้องปฏิบัติ U/S
ผลกระทบ
ด้านร่างกาย
ทารกตายในครรภ์เป็นเวลาตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป
เกิดภาวะfetal death syndrome
ด้านจิตใจ
ความรู้สึกสูญเสีย ตกใจ ซึมเศร้า โทษตัวเอง
การรักษา
ไตรมาสแรก ทําการ dilatation & curettage
ไตรมาสที่สอง เหน็บยา/ให้ oxytocin
ไตรมาสที่สาม ให้ oxytocin ปริมาณความเข้มข้นสูง
การพยาบาล
ประคับประคองด้านจิตใจ
ประเมินความต้องการสัมผัสกับทารกแรกคลอด
ติดตามผลการตรวจเลือด
ให้ได้รับยายับยั้งการหลั่งน้ํานม