Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528,…
บทที่4 พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์พ.ศ. ๒๕๒๘ ”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับ ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ถ้าขัดหรือแย้ง กับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน
มาตรา ๔ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การพยาบาล
การผดุงครรภ์
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ
การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล รวมท้้ง การจัดสภาพแวดล้อม
การกระทำตามวิธีที่กาหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้น+ภูมิคุ้มกันโรค
ช่วยเหลือแพทย์รักษาโรค
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด+ทารกแรกเกิด เพื่อป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด
การตรวจ การทำคลอด และการวางแผนครอบครัว
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ใบอนุญาต
สมาชิก
กรรมการ คณะกรรมการ เลขาธิการ
พนักงานเจ้าหน้าที่
รัฐมนตรี
มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจแต่งตั้ง พนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบญัญัตินี้
หมวด ๑ สภาการพยาบาล
มาตรา ๖ ให้มีสภาการพยาบาล มีวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้สภาการพยาบาลเป็นนิติบุคคล
มาตรา ๗ สภาการพยาบาลมีวัตถุประสงค์
ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์
ส่งเสริมการศึกษา การบริการ การวิจัย และความก้าวหนา
ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก
ช่วยเหลือ แนะนำ เผยแพร่ และให้การศึกษา
ให้คาปรึกษา หรือขอ้ เสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกบั ปัญหาการพยาบาล
เป็นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวัสดิการ
มาตรา ๘ สภาการพยาบาลมีอำนาจหน้าที่
รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาต
สั่งพักใช้ใบอนุญาต/เพิกถอนใบอนุญาต
ให้ความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ในระดับอุดมศึกษา
รับรองหลักสูตรต่างๆ สาหรับการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรของสถาบัน
รับรองหลักสูตรต่างๆ สาหรับการฝึกอบรมในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
รับรองวิทยฐานะของสถาบันที่ทำการสอนและฝึกอบรม
รับรองปริญญา ประกาศนียบัตรเทียบเท่าปริญญา
ออกหนังสืออนุมัติ/วุฒิบัตรเกี่ยวกับความรู้หรือความชำนาญเฉพาะทาง
ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล
มาตรา ๙ สภาการพยาบาลอาจมีรายได้
เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ ค่าบารุง และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ
ผลประโยชน์จากกิจกรรมอื่นของสภาการพยาบาล
เงินและทรัพย์สินซึ่งมีผู้ให้แก่สภาการพยาบาล
ดอกผลของเงินและทรัพย์สินอื่นตาม
มาตรา ๑๐ ให้รัฐมนตรีดารงตาแหน่งสภานายกพิเศษแห่งสภาการพยาบาลและมีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๒ สมาชิก
มาตรา ๑๑ สภาการพยาบาลประกอบด้วยสมาชิก2ประเภท
สมาชิกสามัญ
สมาชิกกิตติมศักดิ์
มาตรา ๑๒ สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสามัญ
ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์
แสดงความเห็นเป็นหนังสือเกี่ยวกับกิจการของสภาการพยาบาล
เลือกตั้ง รับเลือกตั้ง หรือรับเลือกเป็นกรรมการ
ผดุงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพและปฎิบัติตนตามพระราชบัญญัติ
มาตรา ๑๓ สมาชิกภาพของสมาชิกสามัญสิ้นสุดลง
ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๑
หมวด ๓
คณะกรรมการ
มาตรา ๑๔ ให้มีคณะกรรมการสภาการพยาบาล
มาตรา ๑๕ คณะกรรมการอาจแต่งตั้ง สมาชิกกิตติมศักดื์/สมาชิกสามัญเป็นกรรมการที่ปรึกษาได้
มาตรา ๑๖ ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการเพื่อดำรงตาแหน่งนายกสภาการพยาบาล
มาตรา ๑๗ การเลือกตั้ง กรรมการตามมาตรา ๑๔ การแต่งตั้ง กรรมการที่ปรึกษาตามมาตรา ๑๕ และเลือกกรรมการดำรงตำแหน่งต่างๆ ตามมาตรา ๑๖
มาตรา ๑๘ กรรมการนอกจากปลัดกระทรวงสาธารณสุขและกรรมการที่ปรึกษาต้องมีคุณสมบัติ
เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์
ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต/เพิกถอน
ไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
มาตรา ๑๙ ให้กรรมการ ได้รับแต่งตั้ง และรับเลือกตั้ง มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองคราวติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๒๐ กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้ง และรับเลือกตั้งพ้นจากตำแหน่ง
สมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามมาตรา ๑๓
ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๘
ลาออก
มาตรา ๒๑ ในกรณีตาแหน่งกรรมการซึ่งได้รับเลือกตั้ง ว่างลงไม่เกินกึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมดก่อนครบวาระให้คณะกรรมการเลือกสมาชิกสามัญ ผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๘ เป็นกรรมการแทนภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ตำแหน่งกรรมการนั้นว่างลง
มาตรา ๒๒ ให้คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่
บริหารกิจการสภาการพยาบาล แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจริยธรรม ออกข้อ บังคับสภาการพยาบาล
มาตรา ๒๓ นายกสภาการพยาบาล อุปนายกสภาการพยาบาลคนที่หนึ่ง อุปนายกสภาการ พยาบาลคนที่สอง เลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ และเหรัญญิก
หมวด ๔ การดำเนินกิจการของคณะกรรมการ
มาตรา ๒๔ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา ๒๕ สภานายกพิเศษจะเข้าฟังการประชุมชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุม/ส่งความเห็นเป็นหนังสือ
มาตรา ๒๖ มติของที่ประชุมคณะกรรมการในเรื่องการออกข้อบังคับ กาหนดงบประมาณ ให้สมาชิกสามัญพ้นจากสมาชิกภาพตามมาตรา ๒๔ วรรคสาม การวินิจฉัยช้ีขาดตามมาตรา ๔๑ วรรคสาม ต้องไดรับความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษก่อน
หมวด ๕ การควบคุมการประกอบอาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์
มาตรา ๒๗ ห้ามไม่ให้ผู้ใดซึ่งไม่ได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลกระทำการพยาบาล
มาตรา ๒๘ การขึ้นทะเบียน การออกใบอนุญาต ต่ออายุใบอนุญาต การออกหนังสือเกี่ยวกับ ความรู้หรือความชานาญเฉพาะทาง
มาตรา ๒๙ การขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แบ่งเป็น3ประเภท พยาบาล การผดุงครรภ์และพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา ๓๐ ผู้มีสิทธิขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพตามมาตรา ๒๙
มาตรา ๓๑ ผู้ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตต้องเป็นสมาชิกสามัญ แห่งสภาการพยาบาล
มาตรา ๓๒ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ ต้องรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
มาตรา ๓๓ บุคคลผู้ซึ่งได้รับความเสียหายเพราะผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลมีสิทธิกล่าวหาผู้ก่อให้เกิดความเสียหายนั้น โดยทำเรื่องยื่นต่อสภาการพยาบาล
มาตรา ๓๔ เมื่อสภาการพยาบาลได้รับเรื่องการกล่าวหาให้เลขาธิการเสนอเรื่องดังกล่าวต่อประธานอนุกรรมการจริยธรรมโดยไม่ช้า
มาตรา ๓๕ ให้คณะกรรมการแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการจริยธรรมจากสมาชิกสามัญแล้วทำรายงาน+ความเห็นเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณา
มาตรา ๓๖ เมื่อคณะกรรมการได้รับรายงาน มีมติแสวงหาข้อเท็จจริงเพิ่มเติม สอบสวน ให้ยกข้อกล่าวหาในกรณีที่เห็นว่าข้อกล่าวโทษนั้นไม่มีมูล
มาตรา ๓๗สรุปผลการสอบสวนและเสนอสำนวนการสอบสวน เพื่อวินิจฉัยชี้ขาด
มาตรา ๓๘ อำนาจเรียกบุคคลใดๆ มาให้ถ้อยคำ ส่ง
เอกสารหรือวัตถุ เพื่อประโยชน์แก่การดาเนินงาน
มาตรา ๓๙ สอบสวนแจ้งข้อกล่าวหา ส่งสำเนาเรื่องที่กล่าวหาให้
ผู้ถูกกล่าวหาไม่น้อยกว่าสิบห้าวันก่อนวัน เริ่มทำการสอบสวน
มาตรา ๔๐ทำการสอบสวนเสร็จสิ้นแล้วให้เสนอสานวนการสอบสวน
มาตรา ๔๑ พิจารณาสานวนการสอบสวนและความเห็นเพิ่มเติมก่อนวินิจฉัยชี้ขาด อำนาจวินิจฉัยชี้ขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง
มาตรา ๔๒ ให้เลขาธิการแจ้งคำสั่งสภาการพยาบาลตามมาตรา ๔๑
มาตรา ๔๓ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๗
มาตรา ๔๔ ผู้ใดกระทำการฝ่าฝืนมาตรา ๔๓ และถูกลงโทษจำคุกตามมาตรา ๔๖โดยคำพิพากษาถึงที่สุด
มาตรา ๔๕ ผู้ประกอบวิชาชีพ ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตอาจขอรับใบอนุญาตอีกได้เมื่อพ้นสองปีนับ แต่วันที่ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
หมวด ๕ ทวิ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๔๕ ทวิให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจเข้าไปในสถานที่เพื่อตรวจสอบค้น/ยึดเอกสารหลักฐานเพื่อดำเนินคดี
มาตรา ๔๕ ตรี ในการปฏิบัติหน้าที่พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๔๕ จัตวา ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๔๕ เบญจ ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้ผู้รับผิดชอบ/ปฏิบัติหน้าที่ในสถานที่ตามมาตรา ๔๕ ทวิ
หมวด ๖บทกำหนดโทษ
มาตรา ๔๖ ผู้ใดฝาฝืนมาตรา ๒๗ /มาตรา ๔๓ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี /ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท/ทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๔๗ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๓๑ วรรคสาม ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
มาตรา ๔๘ ผู้ใดไม่มาให้ถ้อยคำ/ไม่ส่งเอกสารตามที่เรียกให้ส่งตาม
มาตรา ๓๘ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน/ปรับไม่เกินหน่ึงพันบาท/ท้ั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๔๘ ทวิผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๔๕ ระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน/ปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท/ทั้งจำทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๔๙ ผู้ใดได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตให้ถือว่าผู้นั้น
เป็นสมาชิกสามัญของสภาการพยาบาลตามพระราชบญัญัตินี้
มาตรา ๕๐ ผู้ใดได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบวิชาชีพในประเภทและชั้น แล้วแต่กรณี
มาตรา ๕๑ ในระยะเริ่มแรกที่ยัง ไม่ได้เลือกตั้ง สมาชิกสามัญของสภาการพยาบาลู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งจะต้องกระทำให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวัน
มาตรา ๕๒ ในระหว่างที่ยัง ไม่ได้ออกระเบียบให้นำกฎกระทรวง ระเบียบหรือประกาศที่ออกตามกฎหมายว่า ด้วยการควบคุมการประกอบโรคศิลปะมาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินหนึ่งปี
บทที่4ข้อบังคับสภาการพยาบาล
ข้อ ๑ “ข้อบังคับสภาการพยาบาล ว่าด้วยข้อจํากัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
ข้อ ๒ ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิก๓.๑ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจํากัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพพ.ศ. ๒๕๓๐ ๓.๒ข้อบังคับสภาการพยาบาล(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔
หมวด ๑
บททั่วไป
ข้อ ๔ ในข้อบังคับนี้
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน เกิดขึ้นอย่างกะทันหันําเป็นต้องดูแลรักษาทันที
การเจ็บป่วยวิกฤต มีความรุนแรงถึงขั้นที่อาจทําให้ผู้ปวยถึงแก่ชีวิต/พิการได้
หมวด ๒
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ส่วนที่ ๑
การพยาบาล
ข้อ ๕ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นสอง ให้กระทําการพยาบาลที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
ข้อ ๖ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นสอง จะให้ยาผู้ป่วยได้เฉพาะที่แพทย์
การให้ยาผู้ป่วยดังกล่าวห้ามมิให้ยา/สารละลายทางหลอดเลือดดํา ทางช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง/ช่องไขสันหลัง
ข้อ ๗ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง จะให้ยาผู้ป่วยได้เฉพาะที่แพทย์
ส่วนที่ ๒
การทําหัตถการ
ข้อ ๘ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง กระทําการพยาบาลโดยการทําหัตถการตามขอบเขต เช่น การทําแผล การตกแต่งบาดแผล การเย็บแผล การตัดไหม การผ่าฝี
ข้อ ๙ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ทําหัตถการ
ต่อไปนี้ จะต้องผ่านการอบรมตามหลักสูตรและได้รับใบรับรอง เช่น การใส่และถอดห่วง การฝังและถอดยาคุมกําเนิด การผ่าตัดตาปลา
ส่วนที่ ๓
การรักษาโรคเบื้องต้น
ข้อ ๑๐ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ทําการประกอบวิชาชีพตามข้อกำหนดในการรักษาโรคเบื้องต้น และการให้ภูมิคุ้มกันโรคได้จะต้องได้รับการศึกษา/อบรมตามหลักสูตร
ข้อ ๑๑ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ที่ได้รับวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญเฉพาะทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ สาขาเวชปฏิบัติชุมชน
ข้อ ๑๒ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ตรวจวินิจฉัยและบําบัดรักษาโรค ตามมาตรฐานโดยเคร่งครัด และให้ผู้ป่วยไปรับการบําบัดรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพอื่น เมื่ออาการไม่บรรเทา/อาการรุนแรงเพิ่มขึ้น
ข้อ ๑๓ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ถ้าจําเป็นต้องใช้ยาให้ใช้ยาได้ตามคู่มือการใช้ยาที่สภาการพยาบาลกําหนด
ข้อ ๑๔ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง จะให้ภูมิคุ้มกันโรคต้องปฏิบัติตามสาธารณสุขกำหนด
ข้อ ๑๕ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง จะต้องบันทึกเกี่ยวกับประวัติของผู้ป่วย อาการ และการเจ็บป่วยโรค การให้การรักษาโรค
หมวด ๓การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ข้อ ๑๖ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นสอง จะให้ยาผู้ป่วยได้เฉพาะที่แพทย์
ข้อ ๑๗ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นสอง จะทําการผดุงครรภ์ได้แต่เฉพาะรายที่มีครรภ์ปกติ และคลอดอย่างปกติ
ข้อ ๑๘ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง จะให้ยาผู้ป่วยได้เฉพาะที่แพทย์ และห้ามไม่ให้ยา/สารละลายทางช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง/ช่องไขสันหลัง ห้ามไม่ให้ยา/สารละลายทางหลอดเลือดดํา
ข้อ ๑๙ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง จะทําการผดุงครรภ์ได้แต่เฉพาะรายที่มีครรภ์ปกติ และคลอดอย่างปกติ
จนการพยาบาลมารดาและทารก
ข้อ ๒๐ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ จะต้องใช้ยาทําลายและป้องกันการติดเชื้อสําหรับหยอดตา/ป้ายตาทารก เมื่อคลอดแล้วทันที
ข้อ ๒๑ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ จะต้องบันทึกการรับฝากครรภ์และการทําคลอดทุกรายในสมุดบันทึก
ข้อบังคับสภาการพยาบาล ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๓
ข้อ ๔. ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติทางตา ทําหัตถการการเขี่ยสิ่งแปลกปลอมออกจากตา การวัดค่าสายตาผิดปกติ การขูดหาเชื้อจากแผลกระจกตา การวัดกำลังเลนส์แก้วตาเทียม การเจาะตากุ้งยิง
ข้อ ๕ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ตรวจวินิจฉัยและบําบัดรักษาโรค การตรวจประเมินสภาพผู้ป่วยและสายตาโดยการซักประวัติ ตรวจคัดกรอง การบันทึกผลการตรวจ และการแปลผล การช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งตอ
ข้อ ๗ ในกรณีที่มีความจําเป็นต้องใช้ยา ให้ใช้ยาได้ตามที่สภาการพยาบาลกําหนด
ข้อบังคับสภาการพยาบาล ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๖๒
ข้อ ๓ การเจาะเก็บตัวอย่างเลือด เพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ต้องมีวัตถุประสงค์
ข้อ ๔ การเจาะเก็บตัวอย่างเลือดต้องเป็นแนวปฏิบัติทางการพยาบาล
ข้อ ๕ การเจาะเก็บตัวอย่างเลือด ต้องจากเส้นเลือดฝอยปลายนิ้ว/หลอดเลือดด าส่วนปลาย
ข้อ ๖ การเก็บตัวอย่างเลือดจากหลอดเลือดแดงหรือหลอดเลือดดำส่วนกลาง ตามแผนการรักษา
ข้อบังคับสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๐
หมวด ๑
บททั่วไป
ข้อ ๓
ผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ
ข้อ ๔ ผู้ประกอบวิชาชีพ ย่อมดํารงตนให้สมควรในสังคมโดยธรรม และเคารพต่อกฎหมาย
ข้อ ๕ ผู้ประกอบวิชาชีพ ย่อมประกอบวิชาชีพด้วยเจตนาดี โดยไม่คํานึงถึงฐานะ เชื้อชาติสัญชาติ ศาสนา สังคม/ลัทธิการเมือง
ข้อ ๖ ผู้ประกอบวิชาชีพ ย่อมไม้ประพฤติหรือกระทําการใด ๆ อันอาจเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
หมวด ๒ การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ส่วนที่ ๑ การปฏิบัติต่อผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ
ข้อ ๗ ผู้ประกอบวิชาชีพต้องรักษามาตรฐานของวิชาชีพ ไม่เรียกร้อง สินจ้างรางวัลพิเศษนอกเหนือจากค่าบริการ
ข้อ ๘ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่จูงใจ/ชักชวนผู้ใดให้มาใช้บริการการพยาบาล
ข้อ ๙ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่เรียกร้องขอรับผลประโยชน์เป็นค่าตอบแทน
ข้อ ๑๐ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องปฏิบัติต่อผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการโดยสุภาพ
ข้อ ๑๑ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่หลอกลวงผู้ป่วย
ข้อ ๑๒ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คํานึงถึงความปลอดภัย
ข้อ ๑๓ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่สั่งใช้หรือสนับสนุนการใช้ยาตําราลับ
ข้อ ๑๔ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ออกใบรับรองอันเป็นเท็จโดยเจตนา
ข้อ ๑๕ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม้เป็ดเผยความลับของผู้ป่วย
ข้อ ๑๖ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในระยะอันตราย
ข้อ ๑๗ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ประกอบการในทางสาธารณะ
ข้อ ๑๘ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่สนับสนุนให้มีการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ส่วนที่ ๒การปฏิบัติต่อผู้ร่วมวิชาชีพ
ข้อ ๑๙ ผู้ประกอบวิชาชีพ ควรยกย่องให้เกียรติและเคารพในศักดิ์ศรีซึ่งกันและกัน
ข้อ ๒๐ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ทับถมให้ร้ายหรือกลั่นแกล้งกัน
ข้อ ๒๑ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ชักจูงผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการผู้อื่นมาเป็นของตน
ส่วนที่ ๓ การปฏิบัติติอผู้ร่วมงาน
ข้อ ๒๒ ผู้ประกอบวิชาชีพ ควรยกย่องให้เกียรติและเคารพในศักดิ์ศรีของผู้ร่วมงาน
ข้อ ๒๓ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ทับถมให้ร้าย /กลั่นแกล้งผู้ร่วมงาน
ข้อ ๒๔ ผู้ประกอบวิชาชีพ พึงส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบวิชาชีพของผู้ร่วมงาน
ส่วนที่ ๔ การศึกษาวิจัยและการทดลองต่อมนุษย
ข้อ ๒๕ ผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้ทําการทดลองต่อมนุษย์ ต้องได้รับความยินยอม
ข้อ ๒๖ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องปฏิบัติต่อผู้ถูกทดลองเช่นเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อผู้ป่วย
ข้อ ๒๗ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องรับผิดชอบต่ออันตราย/ผลเสียหายเนื่องจากการทดลอง
ข้อ ๒๘ ผู้ประกอบวิชาชีพ สามารถทําการวิจัยได้เฉพาะเมื่อโครงการศึกษาวิจัย/การทดลองดังกล่าว
ข้อ ๒๙ ผู้ประกอบวิชาชีพ จะต้องปฏิบัติตามแนวทางจริยธรรมของการศึกษาวิจัย
หมวด ๓ การโฆษณาการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ข้อ ๓๐ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่โฆษณา ใช้ จ้าง หรือยินยอมให้ผู้อื่น
ข้อ ๓๑ การโฆษณาตามข้อ ๓๐
ข้อ ๓๒ ผู้ประกอบวิชาชีพ อาจแสดงข้อความเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ข้อ ๓๓ ผู้ประกอบวิชาชีพ อาจแจ้งความการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ข้อ ๓๔ ผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้ทําการเผยแพร่/ตอบปัญหาทางสื่อมวลชน ถ้าแสดงตนว่าเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ