Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 การบริหารยา (4.1การบริหารยาและยาเฉพาะที่) - Coggle Diagram
บทที่4 การบริหารยา (4.1การบริหารยาและยาเฉพาะที่)
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
ภาวะจิตใจ
ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับยาเคมีบำบัดบางรายมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนมาก สาเหตุมาจากจิตใจ
ภาวะสุขภาพ
ผู้ป่วยที่มีโรคหรืออาการป่วย เมื่อได้รับยาจะมีผลต่อการแสดงออกของฤทธิ์ยาทีต่างจากคนปกติ
กรรมพันธุ์
บางคนมีความไวผิดปกติ และมีการแพ้ยาง่าย
ทางที่ให้ยา
ให้ทางหลอดเลือดจะดูดซึมได้เร็วกว่ายาที่ให้รับประทานทางปาก
เพศ
ผู้ชายจะมีน้ำหนักตัวมากกว่าผู้หญิง
เวลาที่ให้ยา
ยาบางชนิดต้องให้เวลาที่ถูกต้องยาจึงออกฤทธิ์ตามที่ต้องการ
ยาปฏิชีวนะบางชนิด
อายุและน้ำหนักตัว
เด็กเล็กๆ ตับและไตยังเจริญไม่เต็มที่ ผู้สูงอายุมากๆ การทำงานของตับและไตลดลง จึงทำให้ยามีปฏิกิริยามากขึ้น ขนาดของยาที่ให้จึงต้องน้อยกว่าคนปกติส่วนคนที่มีน้ำหนักตัวมากต้องได้รับขนาดของยาเพิ่มสูงขึ้น
ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกแต่ละรายจะได้รับยาเคมีบำบัดในปริมาณที่ต่างกันโดยแพทย์ผู้รักษาใช้หลักการคำนวณปริมาณยาจากน้ำหนักตัวของผู้ป่วย
สิ่งแวดล้อม
ยาที่รักษาบางชนิดที่เปลี่ยนพฤติกรรมจะต้องให้ผู้ป่วยอยู่ในมี่เงียบสงบ
คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
คำสั่งแพทย์
คำสั่งใช้ภายในวันเดียว (Single order of order for one day)
เป็นคำสั่งที่ใช้ได้ใน1วัน เมื่อได้ให้ยาไปแล้วเมื่อครบก็ระงับไปได้เลย
คำสั่งที่ต้องให้ทันที (Stat order)
เป็นคำสั่งการให้ยาครั้งเดียวและต้องให้ทันที
คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป (Standing order / order for continuous)
เป็นคำสั่งครั้งเดียวแต่จะใช้ตลอดจนกว่าจะมีคำสั่งระงับ (discontinue)
คำสั่งเมื่อจำเป็น (prn order)
เป็นคำสั่งที่กำหนดไว้ให้ปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยมีอาการบางอย่างเกิดขึ้น
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
ชื่อของยา
ชื่อของผู้ป่วย
ขนาดของยา
วิถีทางการให้
เวลาและความถี่ในการให้ยา
ลายมือผู้สั่งยา
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
ทางสูดดม(inhalation)
ยาที่ใช้พ่นให้ผู้ป่วยสูดดมทางปากหรือจมูก โดยดูดซึมทางระบบทางเดินหายใจ
ทางเยื่อบุ(mucous)
ยาที่ใช้สอดหรือยาหยอดทางอวัยวะต่างๆ ของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าทางเยื่อบุสู่ระบบไหลเวียนของเลือดบริเวณอวัยวะนั้น
ทางปาก (oral)
ยาที่ให้ผู้ป่วยรับประทานทาปาก โดยยาจะดูดซึมทางระบบทางเดินอาหารและลำไส้ ชนิดของการปรุงยามีลักษณะต่างกัน
ทางผิวหนัง (skin)
ยาที่ใช้ทําบริเวณผิวหนังของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าร่างกํายทางผิวหนัง ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะต่างๆ กัน
ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular)
ยาที่ใช้ฉีดเข้ําทางชั้นผิวหนังของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าร่างกายทํางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นผิวหนัง ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะยาที่ละลายในน้ำ (Aqueous solution)เท่านั้น
ทางหลอดเลือดดำ (intravenous)
ยาที่ใช้ฉีดเข้ําทางหลอดเลือดดำของผู้ป่วย โดยเข้ําสู่ระบบไหลเวียนเลือดโดยตรง ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะยาที่ละลายในน้ำ(aqueous solution) เท่านั้น
ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous /hypodermal)
ยาที่ใช้ฉีดเข้าที่ใต้ผิวหนังของผู้ป่วยโดยดูดซึมเข้ําระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นใต้ผิวหนังชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะสารละลาย (Aqueous solution) เท่านั้น
คำนวณขนาดยา
การคำนวณยําเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาตํามแผนการรักษา มีหลักการคำนวณดังนี้
ความเข้มข้นของยา(ในแต่ละส่วน)= ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี
ปริมาณยาที่มี
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
การให้ยาทางปาก
การให้ยาที่สามารถรับประทานทางปากได้
การพยาบาลเพื่อให้ยาได้ถูกหลักการ
เตรียมยาให้ตรงกับMAR ของผู้ป่วยแต่ละราย
อ่านฉลากยาให้ตรงกับMAR ของผู้ป่วยแต่ละรายดูวันที่หมดอายุของยา
เทยาหรือรินยาให้ได้ตรงตามจำนวนกับขนาดของยาในMAR ของผู้ป่วยแต่ละร่าย
ดูชื่อยาขนาดยาเวลาที่ให้ในMAR ของผู้ป่วยแต่ละร่าย
ดูเบอร์เตียงชื่อนามสกุลผู้ป่วยในMAR ให้ตรงกัน
อุปกรณ์ในการให้ยาทางปาก
น้ำเปล่าหรือน้ำส้มหรือน้ำหวานแทนน้ำ(หากไม่มีข้อห้าม)
ถาดหรือรถใส่ยา
ถ้วยยาหรือSyringe
แบบบันทึกการให้ยา
การเตรียมยาตามขั้นตอน
ยาชนิดMultidose ค่อยๆเทยาจากซองยาหรือขวดที่บรรจุยาหรือFoil โดยที่ไม่ให้มือสัมผัสยา
ยาน้ำให้หันป้ายยาหรือฉลากยาเข้ําหาฝ่ามือเพื่อป้องกันยาหกเปื้อนป้ายยาหรือฉลากยาทำให้ป้ายยาหรือฉลากยาเลอะเลือนได้
ยาชนิดUnit dose (ยาที่จัดมาเป็นแบบวันต่อวัน) หยิบยาใส่ถ้วยยาจำนวนตามที่แพทย์สั่ง
ดูชื่อขนาดยาให้ตรงกับใบMAR อีกครั้งก่อนเก็บยาเข้าที่
ให้ผู้ป่วยรับประทานยาตรงตามเวลาในใบMAR
ดูเบอร์เตียงถามชื่อ-สกุลผู้ป่วยให้ตรงกับใบMAR ของผู้ป่วยแต่ละร่ายตรวจดูป้ายชื่อที่ข้อมือเพื่อระบุตัวผู้ป่วยเป็นการตรวจสอบว่าผู้ป่วยได้รับยาถูกคน
แจกยาให้ผู้ป่วยรับประทานภายในเวลาที่กำหนดไม่แจกยาก่อนหรือหลังเวลาที่กำหนดเกิน30 นาที
ประเมินสัญญาณชีพผู้ป่วยก่อนให้ยาในกรณีที่ยานั้นมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
ให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้ําพยาบาล
สังเกตการเปลี่ยนแปลงหลังรับประทานยาเพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันท่วงที
บันทึกในแผนการพยาบาลและในใบMAR ทุกครั้งหลังให้ยา
การให้ยาเฉพาะที่
การให้ยาทางตา(Eye instillation)
ดวงตาเป็นเนื้อเยื่อที่บอบบางมาก ติดเชื้อได้ง่าย การใช้ยาบริเวณตาจึงต้องคำนึงถึงความสะอาดเป็นสำคัญ ยาที่ใช้กับตามีทั้งยาหยอดตา ป้ายตา และยาล้างตา
วิธีใช้ยาป้ายตา
นอนหรือนั่งแหงนหน้ํา เหลือบตาขึ้นข้างบน ใช้มือดึงหนังตาล่างให้เป็น
กระพุ้ง
บีบยาลงในกระพุ้งตา โดยเริ่มจากหัวตา ระวังอย่าให้ปลายหลอดแตะกับตาหรือเปลือกตา
ล้ํางมือให้สะอาด
หลับตา กลอกตาไปมา หรือใช้นิ้วมือคลึงเบาๆ เพื่อให้ยากระจายได้ทั่ว
ถามชื่อ-สกุลผู้ป่วย ตรวจสอบให้ตรงกับใบ MARแจ้งผู้ป่วยให้ทราบเกี่ยวกับยาที่ผู้ป่วยจะได้รับ ข้อปฏิบัติที่ผู้ป่วยต้องกระทำ ฤทธิ์ข้ํางเคียงและอาการแพ้ยา
ถ้าจำเป็นต้องใช้ยาป้ํายตาร่วมกับยาหยอดตา ให้ใช้ยาหยอดตาก่อนยาป้ายตาประมาณ 5นาที
วิธีใช้ยาล้างตา
ล้างถ้วยล้างตาด้วยน้ำสบู่ เช็ดให้แห้งหรือใช้น้ำร้อนลวกก็ได้
ตรวจดูเสียก่อนว่ําน้ำยาล้ํางตาใสหรือขุ่น ถ้ําขุ่นให้ทิ้งไป เพราะยาเสื่อมสภาพแล้ว
ล้างมือ ล้างหน้าให้สะอาด
รินน้ำยาล้ํางตาเต็มถ้วย ก้มศีรษะเอาตาจุ่มลงถ้วยนั้น ใช้มือกดถ้วยให้แน่น เงยหน้าขึ้นโดยไม่ให้น้ำยาหก
ถามชื่อ-สกุลผู้ป่วย ตรวจสอบให้ตรงกับใบ MARแจ้งผู้ป่วยให้ทราบเกี่ยวกับยาที่ผู้ป่วยจะได้รับ ข้อปฏิบัติที่ผู้ป่วยต้องกระทำ ฤทธิ์ข้ํางเคียงและอาการแพ้ยา
ลืมตาในน้ำยาล้างตา กลอกไปมาสักพัก ก้มศีรษะลง ยกถ้วยล้างตาออก
วิธีใช้ยาหยอดตา
อุ่นยาให้มีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิกายโดยหมุนขวดหรือหลอดยาไปมาระหว่างอุ้งมือ ทั้ง 2 ข้าง นาน 2 นาที หากเก็บยาไว้ในที่เย็น
ล้ํางมือให้สะอาด ทำความสะอาดตาด้วยสำลีชุบ NSSโดยเช็ดจากหัวตาไปหางตา เพื่อขจัดสิ่งสกปรกและยาเก่าออก โดยสำลี 1ก้อนเช็ดได้ครั้งเดียว
ถามชื่อ-สกุลผู้ป่วย ตรวจสอบให้ตรงกับใบ MARแจ้งผู้ป่วยให้ทราบเกี่ยวกับยาที่ผู้ป่วยจะได้รับ
หยอดยาตาตามจำนวนหยดลงไปบริเวณ Conjunctiva sacห่างประมาณ 1-2 นิ้วระวังอย่าให้หลอดหยดแตะกับตาหรือขนตา
หลับตาพร้อมทั้งใช้มือกดเบาๆ ที่ข้างจมูกบริเวณหัวตาไว้ประมาณ 1-2นาที เพื่อป้องกันน้ำยาไหลลงคอจะได้ไม่ขมคอและให้ผู้ป่วยกลอกตาไปมา
ซับส่วนที่เกินออก อย่าขยี้ตา
หากจำเป็นต้องหยอดยาหลายชนิดในช่วงเวลาเดียวกันให้เว้นช่วงระยะเวลา 5นาที เพื่อให้ยาแต่ละชนิดออกฤทธิ์ได้ดี
การให้ยาทางหู(Ear instillation)
เอียงหู หรือนอนตะแคง ให้หูข้างที่จะหยอดอยู่ด้ํานบน
ดูดยาและหยอดยาตามจำนวนหยด ดึงใบหูขึ้นปละไปข้ํางหลัง แต่หากเป็นเด็กอายุต่ำกว่า 3ปี ให้ดึงใบหูลงข้างล่างและไปข้างหลังเพื่อให้ยาไหลลงหูได้สะดวก
ล้ํางมือและทำาความสะอาดใบหูด้วยผ้ําชุบน้ำ เช็ดให้แห้ง
เอียงหูข้างนั้นไว้ 2-3นาที หรือใช้สำลีอุดหูไว้ 5นาที
อุ่นยาให้มีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิกายโดยหมุนขวดหรือหลอดยาไปมาระหว่างอุ้งมือทั้ง 2 ข้ําง นาน 2 นาที หากเก็บยาไว้ในที่เย็น
หากต้องการหยอดหูทั้ง 2 ข้ํางให้ทำซ้ำเหมือนเดิม
ถามชื่อ-สกุลผู้ป่วย ตรวจสอบให้ตรงกับใบ MARแจ้งผู้ป่วยให้ทราบเกี่ยวกับยาที่ผู้ป่วยจะได้รับ ข้อปฏิบัติที่ผู้ป่วยต้องกระทำ ฤทธิ์ข้ํางเคียงและอาการแพ้ยา
การสูดดม (Inhalation)
การให้ยาในรูปของก๊าซ (Gas) ไอระเหย (Vapor) หรือละออง (Aerosol) สามารถให้โดยการพ่นยาเข้ําสู่ทางเดินหายใจ เพื่อให้ยาไปสู่บริเวณที่ต้องการให้ยาออกฤทธิ์
การหยอดยาจมูก(Nose instillation)
ให้ผู้ป่วยเงยหน้าขึ้น และพยาบาลยกปีกจมูกผู้ป่วยข้างที่จะหยอดยาขึ้นเบาๆ แล้วหยดยาผ่านทางรูจมูกห่างประมาณ 1-2 นิ้วจากนั้นให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าเดิมประมาณ 5 -10 นาทีเพื่อป้องกันยาไหลย้อนออกมา
การเหน็บยา
วิธีการเหน็บยาทางทวารหนัก (Rectum suppository)
ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงข้างซ้าย และพยาบาลใส่ถุงมือสะอาด ยกแก้มก้นผู้ป่วยขึ้นจนเห็นรูทวารหนักชัดเจน จึงสอดใส่เม็ดยาเข้ําไปแล้วใช้นิ้วชี้ดันยาพร้อมเขี่ยเม็ดยาให้กระดกขึ้นเพื่อชิดผนังทวารหนัก โดยให้ยาเข้ําไปลึกประมาณ 3-4 นิ้วหรือเข้ําไปจนสุดนิ้วชี้
วิธีการเหน็บยาทางช่องคลอด (Vaginal suppository)
ควรทำหลังจากการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก แล้วให้ผู้ป่วยนอนหงายและพยาบาลใส่ถุงมือปราศจากเชื้อแล้วสอดใส่เม็ดยาหรือแท่งเข้ําไปทางช่องคลอดแล้วใช้นิ้วชี้ดันยาเข้าไปลึกประมาณ 2-3 นิ้วหรือจนเกือบสุดนิ้วชี้
บทบาทพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
การบริหารยาให้มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันการคลาดเคลื่อนทางการให้ยา ที่พยาบาลควรปฏิบัติ
กรณีผู้ป่วยที่NPO ให้มีป้ายNPO และเขียนระบุว่ําNPO เพื่อผ่าตัดหรือเจาะเลือดเช้าให้อธิบายและแนะนำผู้ป่วยและญาติทุกครั้ง
กรณีคำสั่งสารน้ำ+ยาB co 2 mlให้เขียนคำว่า+ยาB co 2 ml ด้วยปากกาเมจิกอักษรตัวใหญ่บนป้ายสติ๊กเกอร์ของสารน้ำให้ชัดเจนเพื่อสังเกตได้ง่าย
เวรบ่ายพยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบ MAR กับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกันและดูยาในช่องลิ้นชักยาอีกครั้ง
การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้องแล้วในการจัดยาที่เป็นคำสั่งใหม่
การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยาเนื่องจากความผิดพลาดด้ํานบุคคลโดยเฉพาะยาน้ำ
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบคนละคนกันตรวจสอบช้ำก่อนให้ยา
เมื่อมีคำสั่งใหม่หัวหน้ําเวรลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยาและให้พยาบาลตรวจดูยาในลิ้นชักของผู้ป่วยทุกเตียงจนเป็นนิสัยและดูผู้ป่วยประจำเตียงว่ามีหรือไม่
การซักประวัติ
ให้ยึดหลัก6R ตํามที่กล่าวมาข้างต้น
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาในครั้งแรกพยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์พร้อมกับเช็คยาและจำนวนให้ตรงตามฉลากยาหากไม่ตรงให้แจ้งเจ้าหน้าที่ทันที
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การประเมินสภาพ
ประเมินดูว่าผู้ป่วยมีข้อห้ามในการให้ยาทางปากหรือไม่
การได้รับสารน้ำเพียงพอหรือไม่
ประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อดูหน้าที่การทางานของ ตับ ไต
ความรู้ความเข้าใจเรื่องยาที่ได้รับ
ประวัติการแพ้ยา
การปฏิบัติตัวในการได้รับยา
การวินิจฉัยการพยาบาล
เมื่อรวบรวมข้อมูลจากการประเมินสภาพได้ทั้งหมดแล้วนำมาจัดหมวดหมู่ข้อมูลที่เป็นปัญหาดูว่าผู้ป่วยมีปัญหาหรือไม่มีปัญหาที่จะได้รับยาขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ประเมินมาได้ในขั้นตอนแรกแล้วให้การวินิจฉัยพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
หลังจากได้ข้อมูลและปัญหาหรือข้อบ่งชี้ในการให้ยาแล้วทำการวางแผนหาวิธีการว่าจะให้ยาอย่างไร ผู้ป่วยจึงจะได้ยาถูกต้อง ครบถ้วน ผู้ป่วยไม่เจ็บปวดหรือได้รับอันตรายโดยการตั้งเกณฑ์การประเมินของแต่ละข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
เป็นการปฏิบัติการให้ยาตามแผนที่วางไว้ไปปฏิบัติ โดยยึดหลักความถูกต้อง 7ประการ และคำนึงถึงบทบาทพยาบาลในการให้ยาตามที่ได้กล่าวข้างต้นรวมไปถึงการบันทึกหลังการให้ยาด้วยปฏิบัติตามหลักการบริหารยาที่ลงมือปฏิบัติจริง
การประเมินผล
หลังจากให้ยาแล้วต้องกลับมาตามผลทุกครั้ง เพื่อดูผลของยาต่อผู้ป่วยทั้งด้านการรักษาและผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
ระบบการตวงวัดยา
ระบบเมตริก
กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน
หยด ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว
ระบบอโพทีคารี
ปอนด์ ออนซ์ เกรน
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา(Prescription error)
ความคลาดเคลื่อนที่พบในใบสั่งยา (ใบ Order) อาจเกิดจากแพทย์เขียนผิดพลาด
ผิดวิถีทาง
ผิดความถี่
สั่งยาผิดชนิด
สั่งยาที่มีประวัติแพ้
สั่งยาผิดขนาด
ลายมือไม่ชัดเจน
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา(Transcribing error)
ความคลาดเคลื่อนของกระบวนการคัดลอกคำสั่งใช้ยาจากคำสั่งใช้ยาต้นฉบับที่ผู้สั่งใช้ยาเขียน
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา(Dispensing Error)
ความคลาดเคลื่อนในกระบวนการจ่ายยาของกลุ่มงานเภสัชกรรม ที่จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคำสั่งใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา(Administration error)
การบริหารยาที่แตกต่างไปจากคำสั่งใช้ยาของผู้สั่งใช้ยาที่เขียนไว้ในใบบันทึกประวัติการรักษาผู้ป่วย
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
วิถีทางการให้ยา
O
รับประทานทางปาก
ID
เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
M
เข้ากล้ามเนื้อ
V
เข้าหลอดเลือดดำ
SC
เข้าชั้นใต้ผิวหนัง
instill
หยอด
Supp
เหน็บ/สอด
Nebul
พ่นให้สูดดม
Inhal
ทางสูดดม
subling
อมใต้ลิ้น
เวลาการให้ยา
h.s.
hora somni
ก่อนนอน
p.r.n.
pro re nata
เมื่อจำเป็น
p.c.
post cibum
หลังอาหาร
stat
staim
ทันทีทันใด
a.c.
ante cibum
ก่อนหลังอาหาร
ความถี่การให้ยา
tid (ter in die)
วันละ3ครั้ง
qid (quarter in die)
วันละ4ครั้ง
did (bis in die)
วันละ2ครั้ง
q 6 hrs (quaque 6 hora)
ทุก6ชั่วโมง
OD (omnindie)
วันละ1ครั้ง
รูปแบบการบริหารยา
Right technique(ถูกเทคนิค)
การให้ยาถูกตามวิธีการ ใช้เทคนิคที่เหมาะสมโดยการเตรียมยาและให้ยาที่ถูกต้องยึดหลักการปลอดเชื้อสำหรับยารับประทานทางปาก และหลักการปราศจากเชื้อสำหรับยาฉีด
Right documentation(ถูกการบันทึก)
การบันทึกการให้ยาที่ถูกต้องโดยพยาบาลลงนามในเวลาเดียวกับที่ให้ยากับผู้ป่วยในเอกสารที่ได้กำหนดไว้ เพื่อให้ข้อมูลการให้ยาเป็นปัจจุบัน
Rightroute(ถูกวิถีทาง)
การให้ยาถูกทาง โดยการให้ยาแก่ผู้ป่วยตามที่แพทย์สั่งการรักษา เป็นการประกันว่าผู้ป่วยได้รับยาสอดคล้องกับวิถีการบริหารยา
Right to refuse
การตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยในการจัดการยาผู้ป่วยมีสิทธิที่จะปฏิเสธการใช้ยาหากเขามีความสามารถในการทำเช่นนั้นในกรณีที่ผู้ป่วยปฏิเสธการรับยา พยาบาลต้องให้คำอธิบายถึงผลที่เกิดขึ้นของการไม่รับยาให้ผู้ป่วยได้รับทราบในทุกด้าน อย่างละเอียด
Right time(ถูกเวลา)
การให้ยาถูกหรือตรงเวลา โดยการให้ยาตรงตามเวลาหรือความถี่ตามคำสั่งการให้ยา การให้ผู้ป่วยรับประทานยาที่สัมพันธ์กับมื้ออาหารอย่างไม่เหมาะสมจะทำให้ระดับยาในกระแสเลือดสูงหรือต่ำกว่าที่ควรจะเป็น
การให้ยาหลังอาหารเป้ําหมายเพื่อให้ยาได้สัมผัสกับอาหารเพื่อช่วยเรื่องการดูดซึมดังนั้น การให้ยาต้องให้หลังอาหารทันทีจนถึง2 ชั่วโมงหลังอําหารหรือให้ในกรณีที่ยามีผลระคายเคืองกระเพาะอาหารซึ่งอาหารจะช่วยลดการระคายเคืองได้
การให้ยาช่วงใดก็ได้คืออาหารไม่มีผลต่อการดูดซึม
การให้ยาก่อนอาหารเพื่อไม่ต้องการให้ยาได้สัมผัสกับอาหารดังนั้นการให้ยาก่อนอาหารควรให้ยาก่อนอาหารอย่างน้อย½ชั่วโมงหรือหลังอาหารไปแล้ว2 ชั่วโมงหรือรับประทานยาตอนท้องว่าง
การให้แบบกำหนดเวลาหรือให้เฉพาะกับอาหารที่เฉพาะ
การให้พร้อมกับอาหารคำแรกห้ามรับประทานพร้อมนม
Right History and assessment
การซักประวัติและการประเมินอาการก่อน-หลังให้ยาโดยการสอบถามข้อมูล/ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยทุกครั้งก่อนการให้ยา
Rightdose(ถูกขนาด)
การให้ยาถูกขนาดโดยการจัดยาหรือคำนวณยาให้มีขนาดและความเข้มข้นของยาตามคำสั่งการให้ยา เป็นการประกันว่า ผู้ป่วยได้รับขนาดยาโดยรวมเป็นไปตามที่แพทย์ต้องการ
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation
การที่จะต้องให้ยาร่วมกันจะต้องดูก่อนว่ายานั้นสามารถให้ร่วมกันได้ไหมเมื่อให้ร่วมกันจะมีผลทำให้ยาออกฤทธิ์มากขึ้นหรือน้อยลงหรือมีผลต่อประสิทธิภาพยาระยะเวลาที่ยาคงอยู่ในร่างกายเป็นอย่ํางไร
Right drug(ถูกยา)คือการให้ยาถูกชนิดโดยการอ่านชื่อยาอย่างน้อย 3 ครั้ง
ครั้งที่สองก่อนเอายาออกจากภาชนะใส่ยา
ครั้งที่สามก่อนเก็บภาชนะใส่ยาเข้าที่หรือก่อนทิ้งภาชนะใส่ยา
ครั้งแรกก่อนหยิบภาชนะใส่ยาออกจากที่เก็บ
Right to Education and Information
ก่อนที่พยาบาลจะให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้งชื่อยาที่จะให้ ทางที่จะให้ยา ผลการรักษา ผลข้างเคียงของยาที่อาจจะเกิดและอาการที่ต้องเฝ้ําระวังก่อนการให้ยาทุกครั้งผู้ป่วยและญาติมีสิทธิที่จะได้รับรู้ในเรื่องของยาที่ต้องได้รับ
Right patient/client(ถูกคน)
การให้ยาถูกคน หรือถูกตัวผู้ป่วยโดยการเช็คชื่อผู้ป่วยทุกครั้งก่อนให้ยาหรือก่อนฉีดยาเทียบกับใบ Medication administration record
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
ฉีดวัคซีนบีซีจีเพ่อป้องกันวัณโรค
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
ให้กลืนแป้งเบเรี่ยม ซัลเฟต แล้วเอ็กซเรย์เพื่อตรวจดูสภาพของกระเพาะอาหารและลำไส้
เพื่อการรักษา
รักษาเฉพาะโรค
ยาฆ่าเชื้อในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อ
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
ผู้ป่วยเป็นโรคโลหิตจางเพราะขาดธาตุเหล็ก ให้รับเฟอรัส ซัลเฟต
รักษาตามอาการ
อาการปวด ให้ได้รับยาบรรเทาอาการปวด
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ (Provide information)
สามารถติดตามผลการรักษาและร่ายงานผลข้ํางเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้(Monitor and review)
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วยและไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม(Prescribe safely)
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา โดยพิจารณาจากข้อมูลทางเลือกที่ถูกต้อง เหมาะสมกับบริบทและเคารพในมุมมองของผู้ป่วย (Reach a shared decision)
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพและเป็นไปตามหลักเวชจริยศาสตร์ (Prescribe professionally)
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจำเป็น (Consider the options)
สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่างต่อเนื่อง (Improveprescribingpractice)
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาหรือมีความจำเป็นต้องใช้ยาในการรักษา (Assess the patient)
สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Prescribe as part of a team)