Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์พ.ศ. ๒๕๒๘, image -…
บทที่ 4 พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์พ.ศ. ๒๕๒๘
มาตรา
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติให้ใช้บังคับ ตั้งแต่วนัถดัจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๓ บรรดาบทกฎหมายกฎ และข้อ บังคับอื่นในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัติ
มาตรา ๑ พระราชบัญญัติเรียกว่า “พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๒๘
มาตรา ๖ ให้มีสภาการพยาบาลมีวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติให้สภาการพยาบาลเป็นนิติบุคคล
การพยาบาล
การกระทำต่อมนุษยเ์กี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือ
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
การปฏิบัติหน้าที่การพยาบาลต่อบุคคลครอบครัว และชุมชน
ใบอนุญาต
ใบอนุญาตซึ่งสภาการพยาบาลออกให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ
สมาชิก
มาตรา ๑๑ สภาการพยาบาลประกอบด้วยสมาชิกสองประเภท คือ
(๑) สมาชิกสามัญ
(๒) สมาชิกกิตติมศักดิ์ ได้แก่ผทู้รงคุณวุฒิซึ่งสภาการพยาบาลเชิญใหเ้ป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์
มาตรา ๑๒ สิทธิและหน้าที
มาตรา ๑๓ สมาชิกภาพของสมาชิกสามัญสิ้นสุดลง
คณะกรรมการ
มาตรา ๑๔ ให้มีคณะกรรมการสภาการพยาบาล
มาตรา ๑๕ คณะกรรมการอาจแต่งตั้งสมาชิกกิตติมศักดิ์หรือสมาชิกสามัญเป็นกรรมการ
มาตรา ๑๖ ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการเพื่อดำรงตำแหน่งนายกสภาการพยาบาล
มาตรา ๑๗ การเลือกตั้งกรรมการตามมาตรา ๑๔ การแต่งตั้งกรรมการที่ปรึกษา
มาตรา ๑๘ กรรมการนอกจากปลัดกระทรวงสาธารณสุขและกรรมการที่ปรึกษาต้องมีคุณสมบัติ (๑) เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (๒) ไม่เคยถูกสั่งพกัใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต (๓) ไม่เคยเป็นบุคคลลม้ละลาย
มาตรา ๑๙ ให้กรรมการซึ่งได้รับแต่งต้งัและรับเลือกตั้งมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี
ตรา ๒๐ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระกรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งและรับเลือกต้งพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ(๑) สมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามมาตรา ๑๓(๒) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๘ (๓) ลาออก
มาตรา ๒๑ ในกรณีตำแหน่งกรรมการซึ่งได้รับเลือกตั้งวางลงไม่เกินหนึ่งของจำนวนกรรมการ
การดำเนินกิจการของคณะกรรมการ
มาตรา ๒๔ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา ๒๕ สภานายกพิเศษจะเข้าฟังการประชุมชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุมคณะ
มาตรา ๒๖ มติของที่ประชุมคณะกรรมการในเรื่องต่อไปนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษก่อน จึงจะดำเนินการตามมติน้ันได้
การควบคุมการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
มาตรา ๒๗ ห้ามมิให้ผู้ใดซึ่งมิได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลกระทำการพยาบาลหรือการผดุงครรภ์ หรือแสดงด้วยวิธีใด ๆ
มาตรา ๒๘ (๓)
การขึ้นทะเบียน การออกใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาตให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา ๔๐ เมื่อคณะอนุกรรมการสอบสวนทำการสอบสวนเสร็จสิ้นแล้วให้เสนอสำนวนการสอบสวนพร้อมท้ังความเห็นต่อคณะกรรมการโดยไม่ชักช้าเพื่อวินิจฉัยชี้ขาด
มาตรา ๔๒ ให้เลขาธิการแจ้งคำสั่งสภาการพยาบาลตามมาตรา ๔๑ ไปยังผู้ถูู้กกล่าวหา
มาตรา ๔๔ ผู้ใดกระทำการฝ่าฝืนมาตรา ๔๓ และถูกลงโทษจำคุกตาม
ข้อบังคับสภาพยาบาล
ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับสภาการพยาบาล ว่าด้วยข้อจ ากัดและเงื่อนไข ในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒”
ข้อ ๒ ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ การเจาะเก็บตัวอย่างเลือด เพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อ ๔ การเจาะเก็บตัวอย่างเลือดต้องเป็นแนวปฏิบัติทางการพยาบาล
ข้อ ๕ การเจาะเก็บตัวอย่างเลือด ต้องเป็นการเจาะเก็บตัวอย่างเลือดจากเส้นเลือดฝอยปลายนิ้ว
ข้อ ๖ การเก็บตัวอย่างเลือดจากหลอดเลือดแดงหรือหลอดเลือดดำส่วนกลาง ตามแผนการรักษา
การรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาล
ข้อ 5 ผู้ประกอบวิชชีพการพยาบาล ชั้นสองให้กระทำการพยาบาลที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนตามแผนการพยาบาล
ข้อ 6 จะให้ผู้ป่วยได้เฉพาะที่แพทย์ซึ่งป็นผู้บำบัดโรคได้ระบุไว้ในแผนการรักษาพยาบาล
ข้อ 7 ผู้ประกอบวิชชีพการพยบาลจะให้ยาผู้ป่วยได้ฉพาะที่แพทย์ซึ่งเป็นผู้บำบัดโรคได้ระบุไว้ในแผนการรักษาพยาบาล
ว่าด้วยข้อจํากัดและเงื่อนไข
ข้อ ๑. ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจํากัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ
ข้อ ๒. ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓. ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ให้กระทําการพยาบาลการคัดกรองผู้ป่วยการเจ็บป่วยทางตาฉุกเฉิน หรือการเจ็บป่วยวิกฤต และการฟื้นฟูสมรรถภาพการมองเห็น
ข้อ ๔. ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่งที่ผ่านการอบรมหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติทางตาที่สภาการพยาบาลให้การรับรองและได้ขึ้นทะเบียนเป็นพยาบาลเวชปฏิบัติทางตา
๔.๑ การเขี่ยสิ่งแปลกปลอมออกจากตา
๔.๒ การวัดค่าสายตาผิดปกติ (Refraction) ด้วยเครื่องมือ retinoscope
๔.๓ การขูดหาเชื้อจากแผลกระจกตา (Corneal scraping and curette)
๔.๔ การวัดกำลังเลนส์แก้วตาเทียม (Intraocular lens power measurement)
๔.๕ การล้างท่อน้ำตา (Lacrimal sac irrigation)
๔.๖ การเจาะตากุ้งยิง (Incision and curette)
ข้อ ๕ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่งตรวจวินิจฉัยและบําบัดรักษาโรคทางตาตามมาตรฐานของการประกอบวิชาชีพ การตรวจประเมินสภาพผู้ป่วยและสายตาโดยการซักประวัติ
ข้อ ๖ ส่งต่อผู้ป่วยไปรับการบําบัดรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพอื่น เมื่อปรากฏ ตรวจพบ หรือเห็นว่าอาการไม่บรรเทา มีอาการรุนแรงเพิ่มขึ้น มีโรคหรือภาวะแทรกซ้อน
ข้อ ๗ ในกรณีที่มีความจําเป็นต้องใช้ยา ให้ใช้ยาได้ตามที่สภาการพยาบาลกําหนด
ข้อ ๘ เขียนบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของผู้ป่วยหรือผู้รับบริการอาการและการเจ็บป่วยโรค
และการให้การรักษาโรคหรือการให้บริการตามความเปนจริงและต้องเก็บบันทึกรายงานไว้เป็นหลักฐาน