Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 พรบ.ที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพและสุขภาพของประชาชน - Coggle Diagram
บทที่ 5 พรบ.ที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพและสุขภาพของประชาชน
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ
พ.ศ.2550
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550"
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา 2 ในพระราชบัญญัตินี้
สุขภาพ
“ปัญญา”
“ระบบสุขภาพ”
“บริการสาธารณสุข”
“บุคลากรด้านสาธารณสุข”
“ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข”
"สมัชชา"
“กรรมการ”
“คณะกรรมการสรรหา”
“เลขาธิการ”
“สํานักงาน”
"คณะกรรมการบริหาร"
"กรรมการบริหาร"
“หน่วยงานของรัฐ”
“รัฐมนตรี”
มาตรา 4 ให้นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตาม
พระราชบัญญัตินี้และให้มีอํานาจออกกฎกระทรวง
หมวด ๑
สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา 5 บุคคลมีสิทธิในการดํารงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
มาตรา 6 สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ต้องได้รับการสร้างเสริม และคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสม
มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล
มาตรา 8 ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียงพอ
มาตรา 9 ในกรณีที่ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขประสงค์จะใช้ผู้รับบริการเป็น
ส่วนหนึ่งของการทดลองในงานวิจัยต้องแจ้งให้ผู้รับบริการทราบล่วงหน้า
มาตรา 10 เมื่อมีกรณีที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนเกิดขึ้นต้องเปิดเผยข้อมูลนั้นและวิธีป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพให้ประชาชนทราบและจัดหาข้อมูลให้โดยเร็ว
มาตรา 11 บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินและมีสิทธิร่วมใน
กระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ
มาตรา 12 บุคคลมีสิทธิทําหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน
หมวด ๒
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาต
มาตรา 13 ให้มีคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา 14 กรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖) (๗) (๘) (๙) และ (๑๐) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา 15 การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖) ให้ดําเนินการ
คณะกรรมการสรรหาจะจัดให้มีการ
ประชุมเพื่อเลือกกันเอง
มาตรา 16 การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๘) ให้เป็นไปตามวิธีการที่คณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะกําหนด
มาตรา 17 การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๙) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการที่คณะกรรมการสรรหาประกาศกําหนด
มาตรา 18 การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๑๐) ให้คณะกรรมการสรรหาดําเนินการ
มาตรา 19 ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่ง
มาตรา 20 ให้คณะกรรมการสรรหามีหน้าที่และอํานาจ
มาตรา 21 กรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖) (๗) (๘) (๙) และ (๑๐) มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสี่ปี
มาตรา 22 นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖)
พ้นจากตําแหน่งเมื่อพ้นจากตําแหน่งตามที่ระบุไว้ในมาตรา ๑๕ (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) แล้วแต่กรณ
มาตรา 23 นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖)
(๗) (๘) (๙) และ (๑๐) พ้นจากตําแหน่ง
มาตรา 24 หลักเกณฑ์และวิธีการการประชุม คสช. และการปฏิบัติงานของ คสช.
ให้เป็นไปตามระเบียบที่คสช. กําหนด
มาตรา 25 ให้คสช. มีหน้าที่และอํานาจ
หมวด ๓
สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาต
มาตรา 26 ให้จัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติขึ้นเป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและไม่เป็น
รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น
มาตรา 27 ให้สํานักงานมีหน้าที่และอํานาจ
มาตรา 28 รายได้ของสํานักงาน
มาตรา 29 บรรดารายได้ของสํานักงานตามมาตรา ๒๘ ไม่เป็นรายได้ที่ต้องนําส่ง
กระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
มาตรา 30 การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสํานักงานให้เป็นไปตามระเบียบที่
คณะกรรมการบริหารกําหนด
มาตรา 31 ให้มีเลขาธิการคนหนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารงานของสํานักงานขึ้น
ตรงต่อ คสช.
มาตรา 32 ให้เลขาธิการมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับแต่งตั้ง
อีกได้แต่จะดํารงตําแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันมิได้
มาตรา 33 นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระแล้ว เลขาธิการพ้นจากตําแหน่งเมื่อ
ตาย
ลาออก
ถูกจำคุก
ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรา 34 เลขาธิการมีหน้าที่และอํานาจ
มาตรา 35 เงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของเลขาธิการให้คณะกรรมการบริหารกําหนดตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
มาตรา 36 ให้เลขาธิการเป็นผู้แทนของสํานักงานในกิจการของสํานักงานที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก
มาตรา 38 การดํารงตําแหน่ง การพ้นจากตําแหน่ง การประชุมและการปฏิบัติงาน
ของคณะกรรมการบริหาร ให้เป็นไปตามระเบียบที่คสช. กําหนด
มาตรา 39 คณะกรรมการบริหารมีหน้าที่และอํานาจ
หมวด ๔
สมัชชาสุขภาพ
มาตรา 40 การจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่
มาตรา 41 ให้คสช. จัดให้มีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
มาตรา 42 ในการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติให้คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการจัด
สมัชชาสุขภาพแห่งชาติคณะหนึ่งมีจํานวนตามที่คสช. กําหนด
มาตรา 43 ให้คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติมีหน้าที่ในการจัดการ
ประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาต
มาตรา 44 ผู้ใดประสงค์จะเข้าร่วมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติในการประชุมครั้งใด ให้
สมัครลงทะเบียนสําหรับการประชุมครั้งนั้นต่อเจ้าหน้าที่ที่คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา 45 ในกรณีที่สมัชชาสุขภาพแห่งชาติมีข้อเสนอให้หน่วยงานของรัฐนําไป
ปฏิบัติ
หมวด ๕
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาต
มาตรา 46 ให้คสช. จัดทําธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเพื่อใช้เป็นกรอบ
และแนวทางในการกําหนดนโยบาย
มาตรา 47 ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติต้องสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ
มาตรา 48 ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติและนโยบายและยุทธศาสตร์
ด้านสุขภาพตามมาตรา ๒๕ (๒) ที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว
หมวด ๖
บทกําหนดโทษ
มาตรา 49 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗ หรือมาตรา ๙ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน
หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา 50 ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ และงบประมาณของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขไปเป็นของสํานักงานตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 51 ให้นําบรรดาข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งมาใช้บังคับกับการปฏิบัติงานของสํานักงานโดย
อนุโลม
มาตรา 52 ให้ถือว่าข้าราชการที่โอนมาตามมาตรา 50 ออกจากราชการเพราะทาง
ราชการเลิกหรือยุบตําแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญ
มาตรา 53 ให้นําความในมาตรา 52 มาใช้บังคับกับการออกจากราชการหรือออก
จากงานของข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการที่สํานักงานรับเข้าทํางานด้วยโดยอนุโลม
มาตรา 54 ให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้อํานวยการสํานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาฏิบัติหน้าที่เลขาธิการไปจนกว่าจะมีการ
แต่งตั้งเลขาธิการตามพระราชบัญญัติน
มาตรา 55 ในวาระเริ่มแรก ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหา
ตาม มาตรา ๑๙ ให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวัน
หมวด ๕
บทกําหนดโทษ
มาตรา ๕๖ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๕๗ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๒๔ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา ๕๘ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของผู้อนุญาตตามมาตรา ๓๙ หรือมาตรา ๔๕หรือคําสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๔๙ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๕๙ ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๒๑ มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒
มาตรา ๔๐ หรือมาตรา ๔๓ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๖๐ ผู้รับอนุญาตผู้ใดประกอบกิจการสถานพยาบาลโดยมิได้จัดให้มี
ผู้ดําเนินการตามมาตรา ๒๓ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี
มาตรา ๖๑ ผู้ใดมีหน้าที่ต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๖๒ ผู้รับอนุญาตผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๓๓ วรรคสอง ต้องระวางโทษจําคุก
ไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๖๓ ผู้ดําเนินการผู้ใดไม่ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามมาตรา ๓๔ (๑) ต้อง
ระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๖๔ ผู้ดําเนินการผู้ใดไม่ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามมาตรา ๓๔ (๓) หรือ (๔)
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๖๕ ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๓๔
(๒) หรือมาตรา ๓๕ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี
มาตรา ๖๖ ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๓๖ ต้องระวางโทษ
จําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๖๗ ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๓๗ ต้องระวางโทษปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๗๖ ใบอนุญาตให้ตั้งสถานพยาบาล และใบอนุญาตให้ดําเนินการ
สถานพยาบาลที่ออกตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๐๔
มาตรา ๗๗ บรรดากฎกระทรวง หรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติ
สถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๐๔