Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหา ทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสมา - Coggle…
การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหา
ทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสมา
การพยาบาลเด็กป่วยที่
มีปัญหาทางโลหิตวิทยา
ซีดจากการขาดธาตุเหล็ก
(Iron deficiency anemia)
สาเหตุ
การดูดซึมFeที่ลำไส้ไม่ดี
ได้รับอาหารที่มีธาตุเหล็กน้อย
อาการและอาการแสดง
ซีด
เหนื่อยง่าย
อาหารไม่ย่อย ท้องผูกหรือท้องเสีย
การวินิจฉัย
Hb และ Hct ต่ำ
เม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็ก (rmicrocytic) ติดสีจาง (hypochromia)
การตรวจเยื่อบุตาซีด เล็บมือฝามือซีด
Serum feritin น้อยกว่า 10นาโนกรัม/ดล.
ค่าlab
ค่าMCVน้อยกว่า80
ค่าMCHน้อยกว่า26
ค่าMCHCน้อยกว่า33
การรักษา
การให้เหล็กโดยการกิน
(Ferrous sulfate)
กินตอนท้องว่างและสังเกตS/Eท้องผูก อุจจาระดำ
ให้ยาถ่ายพยาธิ
ให้เลือด(Packed red cell)ในรายที่มีภาวะซีดมาก
โรคไขกระดูกฝ่อ
(Aplastic anemia)
สาเหตุ
ความผิดปกติแต่กำเนิด(Congenital)
เกิดภายหลังจากการทำลายของ
เนื้อเยื่อstem cellในไขกระดูก
ได้รับยาเคมีบำบัด ยาแก้ปวด ยากันชัก
เกิดภายหลังจากการติดเชื้อ เช่น ไวรัสตับอักเสบ
เกิดภายหลังจากการได้รับรังสีการรักษาในขนาดสูง
อาการและอาการแสดง
Low platelet
เลือดออกในอวัยวะต่างๆ มีจ้ำเลือดตามลำตัวแขนขา
เลือดออกในทางเดินอาหารทำให้อาเจียนหรือถ่ายเป็นเลือด
Low RBC<140000
ซีด เหนื่อยง่าย
Low WBC<5000
ติดเชื้อง่าย มีไข้ เป็นแผลในปาก
การวินิจฉัย
การเจาะไขกระดูก
การพยาบาล:การเซ็นยินยอมจากผู้ปกครอง
การตรวจนับเม็ดเลือด
RBC:Hb Hct
WBC
Platelet
การรักษา
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
การรักษาด้วยฮอร์โมนAndrogen
การให้ยากดระบบImmune
ภาวะพร่องเอนไซม์ G-6-P-D Deficiency)
เม็ดเลือดแดงอายุสั้นกว่าปกติทำให้เกิดการแตกของเม็ดเลือดแดงอย่าง เฉียบพลัน ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ X – linked
ส่วนใหญ่พบในเพศชาย
สาเหตุ
1.ยา ยารักษามาลาเรีย ยาปฏิชีวนะ เช่น chloramphenical
ยาแก้ปวด เช่น aspirin, paracetamal
สารเคมี เสื้อผ้าที่อบด้วยลูกเหม็น
อาหาร ถั่วปากอ้าดิบๆ
การติดเชื้อ:ไทฟอยด์ ปอดอักเสบ ตับอักเสบ
ไข้หวัด มาลาเรีย
พยาธิสภาพ
เม็ดเลือดแดงมีสภาวะที่ไม่คงทนเนื่องจากฮีโมโกลบินเกิดการเสื่อมสภาพ ตกตะกอนเป็น Heinz bodies ทำให้เม็ดเลือดแดงเสียความยืดหยุ่น เกิดการแตกทำลายได้ง่าย ทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการซีดอย่างเฉียบพลัน มีฮีโมโกลบินในกระแสเลือดเป็นจำนวนมาก (Hemoglobinemia) ปัสสาวะสีโค๊ก เนื่องจากมีฮีโมโกลบินในปัสสาวะ (Hemoglobinuria)
อาการและอาการแสดง
ซีดลงอย่างรวดเร็ว
ปัสสาวะดำเป็นสีโค๊ก (Hemoglobinuria)
3.ภาวะไตวายเนื่องจากมีกรดยูริกเดื่มจำนวน
ขึ้นไปอุดหลอดเลือดฝอยในไต
ตัวเหลืองภายหลังคลอดในทารกแรกเกิด
ที่มีภาวะพร่องเอ็นไซม์ G-6-P-D
ภาวะซีดเรื้อรัง
การรักษา
หาสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการซีด
การรักษาภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะไตวาย
4.ทารกแรกเกิดที่มีอาการตัวเหลือง รักษาด้วยPhototherapy
3.ให้เลือดถ้ามีอาการซีดมากๆ
โรคธาลัสซีเมีย(Thalassemia)
สาเหตุ
การสร้างHemoglobinน้อยลง
RBCผิดปกติและแตกง่าย
ซีด
Feมีปริมาณมากขึ้นจากการที่
ร่างกายสร้างเม็ดเลือดเพิ่มขึ้น
เหลือง ตับม้ามโต
ชนิดของโรค
ฮีโมโกลบินบาร์ทโฮดรอพส์ ฟิทัลลิส
โฮโมซัยกัส เบต้า-ธาลัสซีเมีย
มีอาการขวบปีแรกได้แก่ ซีด อ่อนเพลีย ท้องป่อง
ตับม้ามโต โหนกแก้มสูง ดั้งแบน เจริญเติบโตไม่สมอายุ
ฮีโมโกลบินเอ็ช
มีอาการน้อย เช่นซีดและเหลืองเล็กน้อย
การวินิจฉัย
Chronic anemia
Low Hct,Hb ,MCV
RBCมีขนาดเล็กและติดสีจาง
การรักษา
อธิบายให้ผู้ป่วยและผู้ปกครองเข้าใจเกี่ยวกับโรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น หลีกเลี่ยงอาการที่มีเหล็กสูง ระวังการติดเชื้อ
ให้เลือดเพื่อเพิ่มปริมาณเม็ดเลือดแดงในร่างกาย
ให้ยาขับเหล็กเพื่อลดภาวะเหล็กเกินในเลือด
การผ่าตัดม้าม(Splenectomy)
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
โรคเกล็ดเลือดต่ำ
Idiopathic Thrombocytopenic Purpura(ITP)
ภาวะที่มีเกล็ดเลือดน้อยกว่า 100000เซลล์/ไมโครลิตร
และภาวะที่มีเกล็ดเลือดน้อยกว่า20000เซลล์/ไมโครลิตร มีเลือดออกทั่วร่างกาย(spontaneous bleeding)
สาเหตุ
การสร้างเกล็ดเลือดลดลงเนื่องจากโรคไขกระดูก
เกล็ดเลือดถูกทำลายมากกว่าปกติ
เกล็ดเลือดถูกใช้ไปมากกว่าปกติ
อาการและอาการแสดง
จุดจ้ำเลือดที่ผิวหนัง
เลือดกำเดาไหล
เลือดออกในเยื่อบุต่างๆ
การวินิจฉัย
จุด จ้ำเลือดตามลำตัว แขนขา มีเลือดกำเดาไหล
Plateletต่ำกว่าปกติ
การรักษา
ให้กินprednisoloneโดยกินหลังอาหารทันที
Hemophilia
สาเหตุ
ฮีโมฟิเลียAพร่องแฟคเตอร์8
ฮีโมฟิเลียBพร่องแฟคเตอร์9
ฮีโมฟิเลียCพร่องแฟคเตอร์11
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกง่าย หยุดยาก พบจ้ำเขียวตามตัว แขนขา
เลือดออกในข้อ(Hemarthrosis)
การดูแล
ให้ FFP หรือ Cryoprecipitate
ห้ามเลือดและลดการมีแฟนลือดออก ในวันแรกประคบ ด้วยความเย็นเพื่อให้เลือดหยุดวันต่อมาประคบด้วยน้ำอุ่น เพื่อให้ลิ่มเลือดละลายเร็วขึ้น
ถ้าเลือดออกในข้อให้ใช้ผ้ายืดพันไว้และให้พักข้อนิ่งๆป้องกันและหลีกเลี่ยงการทำให้เลือดออก/สังเกตอาการทางระบบประสาท
เมื่อเลือดหยดุออกเริ่มให้เคลื่อนไหวเพื่อป้องกันข้อติด
ให้การพยาบาลbleeding precaution
หลีกเลี่ยงหัตถการ เช่น ฉีดยา
งดอาหารดำแดง
Acquired Prothrombin Complex Deficiency (APCD)
สาเหตุ
ขาดวิตามินเค
พยาธิสภาพ
วิตามินเค เป็นส่วนประกอบสำคัญที่จะทำให้เกิดการสร้างโปรทรอมบินคอม เพล็กซ์ ที่เป็นactive form เมื่อร่างกายขาดโปรทรอมบินคอม เพล็กซ์ ทำให้กระบวนการแข็งตัวของเลือดหยุดชะงักจึงเกิดภาวะเลือดออกในอวัยวะต่างๆโดยเฉพาะสมอง
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกในสมอง ทางเดินอาหาร ผิวหนัง
อาการซีด
ในรายที่ไม่เสียชีวิตจากการมีเลือดในสมอง
อาจมีอาการพิการทางสมองในระยะต่อมา
3.มีจ้ำเขียวตามตัวหรือเลือดหยุดยาก
4.อาการตับโตในผู้ป่วยเด็กบางราย
การรักษา
เมื่อได้รับการวินิจฉัยแล้ว ให้วิตามินเค 2-5 มิลลิกรัมเข้าทางหลอดเลือดดำเป็นเวลา1-3วัน
ให้FreshFrozenPlasmaถ้าผู้ป่วยมีอาการเลือดออกรุนแรงเพื่อเป็นการเพิ่มโปรทรอมบินคอมเพล็กซ์
ให้เม็ดเลือดแดงเข้มข้น (Packed Red Cell) ถ้าซีดมาก
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหานีโอพลาสมา
มะเร็งในเม็ดเลือดขาว
(Leukemia)
กล่มุของโรคที่มีความผิดปกติของเม็ดเลือดขาวที่มีการสร้างเม็ดเลือดขาวท้ังในรูปของตัวอ่อนและตัวแก่ออกมามากและควบคุมไม่ได้ ทำให้มีจำนวนของเซลล์เม็ดเลือดขาวตัวอ่อนแทรกอยู่ในไขกระดูกและอวัยวะต่างๆเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วย ถึงแก่กรรมได้
จำแนกได้2ชนิด
1.มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอิลอยด์ (Acute Myeloid Leukemia – AML) เมักจะพบบ่อยในผู้ป่วยสูงอายุ
2.มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมฟอยด์(Acute Lymphoblastic Leukemia – ALL) มักพบในผู้ป่วยอายุน้อยหรือผู้ป่วยสูงอายุอาจพบภาวะต่อมน้ำเหลืองโตร่วมด้วย
สาเหตุ
รังสี
ยา
ติดเชื้อ
พันธุกรรม
อาการและอาการแสดง
ไข้ ซีด เลือดออก ปวดข้อหรือปวดกระดูก
ตับ ม้าม และต่อมีน้ำเหลืองมีขนาดโต มีก้อนที่คอหรือในท้อง
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
•CBC: พบ Hct ต่ำ, เกร็ดเลือดต่ำ
เม็ดเลือดขาวมักสูงเป็นหมื่นหรือแสนตัวต่อลบ.มม.
•เจาะไขกระดูก
ดูค่าANC(ค่าปกติ>1500
หากค่าANC(1500-1000)มีความเสี่ยง
หากค่าANCต่ำกว่า500เสี่ยงติดเชื้อได้ง่าย
การรักษา
การให้เคมีบำบัด
แก้ไขภาวะซีด ติดเชื้อ
เปลี่ยนถ่ายกระดูก
การพยาบาล
ห้ามให้ผู้ป่วยกินอาหารสดอาหารต้องผ่านความร้อนเท่านั้น
มะเร็งที่ต่อมน้ำเหลือง
(Lymphoma)
สาเหตุ
อาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัส
การได้รับยากดภูมิคุ้มกันเป็นระยะเวลานานๆ
แบ่งออกเป็น2ชนิด
Hodgkin’s Lymphoma
(Hodgkin’s Disease, HL)
เกิดจากB cellsที่ผิดปกติ
Lymphoma(non-Hodgkins’s Lymphoma หรือ NHLs)
B หรือ T cells ผิดปกติ
สามารถแยกจากกันได้โดยตัวชี้บ่งทางพันธุกรรม
พยาธิสภาพ
เซลล์ในต่อมน้ำเหลืองท่ีตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งในร่างกายมีการแบ่งตัวผิดปกติจนเกิดเป็นก้อน ตำแหน่งที่พบบ่อย คือ ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ (Cervical lymph node)
อาการและอาการแสดง
ต่อมน้ำเหลืองโต ตับม้ามโต
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
ระยะของโรค
Stage I เป็นที่ต่อมน้ำเหลืองต่อมเดียว ยกเว้นตับ ปอด ไขกระดูก
Stage II เป็นต่อมน้ำเหลืองหลายกลุ่ม แต่ยังอยู่ด้านเดียวกันของกระบังลม
Stage III [เป็นต่อมน้ำเหลืองทั้งสองข้างของกระบังลมหรือเป็นที่ต่อมีน้ำเหลืองและอวัยวะอื่นๆอีก1แห่ง
Stage IV เป็นที่อวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย ท้ังในต่อมน้ำเหลือง และนอกต่อมน้ำเหลือง เช่น ตับ ปอด ไขกระดูก ระบบประสาท ส่วนกลาง
การรักษา
•ผสมผสานระหว่างเคมีบำบัดรังสีรักษาและการปลูกถ่ายไขกระดูก
•ยาเคมีบำบัดที่ได้ผลดี คือ Cyclophosphamide, Vincristine,
เพรดนิโซโลน
มะเร็งที่ไต
(Wilm’s tumor)
ภาวะเนื้อไตมีการเจริญเติบโตผิดปกติกลายเป็นก้อน
เนื้องอกภายในเนื้อไต
อาการ
และอาการแสดง
คลำพบก้อนในท้อง
เบื่ออาหารปัสสาวะเป็นเลือด และมีอาการซีด
ความดันโลหิตสูง
การรักษา
ผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออก
รังสีรักษาที่บริเวณตำแหน่งของโรค
ห้ามคลำท้อง อาจทำให้ก้อนแตกได้
3.ให้เคมีบำบัด
มะเร็งที่เซลละประสาท
(Neuroblastoma)
พยาธิสภาพ
•ก้อนเนื้องอกมักเป็นก้อนขนาดใหญ่ที่เกิดจากการแบ่งตัวผิดปกติของเซลล์ประสาทอ่อน(neural crest)ซึ่งมีทั่วไปในร่างกาย แต่มักพบที่บริเวณต่อมหมวกไตช้ันเมดัลลา (adrenal medulla)จึงทำให้มีอาการท้องโตหรือคลำก้อนได้ในท้อง
•ตำแหน่งอื่นๆ ที่อาจพบก้อน ได้แก่ แนวเส้นประสาทซิมพาเธติค เช่นในช่องอก ช่องไขสันหลัง คอ หลังลูกตา
อาการและ
อาการแสดง
•ท้องโตหรือคลำก้อนได้ในท้อง
•ถ้ามีการแพร่กระจายของมะเร็งอาจมีตาโปน
•เบื่ออาหารน้ำหนักลดลง ซีดอ่อนเพลีย ปวดกระดูก
การวินิจฉัย
การเจาะไขกระดูกอาจพบเซลล์มะเร็ง
การตรวจเลือด อาจพบภาวะซีด เกล็ดเลือดต่ำ
Ultrasound, CT abdomen
การรักษา
1.ผ่าตัด
เหมาะกับกรณีที่มะเร็งอยู่ในระยะเริ่มแรก
ก้อนมีขนาดไม่ใหญ่มาก
และอยู่ในตำแหน่งที่ไม่สำคัญ
2.การให้รังสี รักษาหลังผ่าตัด
3.การให้ยาเคมีบำบัด
METHOTREXATE
IV
S/E:ปากเจ็บเป็นแผลในปาก
Nursing:การทำความสะอาดช่องปากบ้วนปากด้วย0.9% NSS,
ป้ายแผลด้วย Xylocain cream, แปรงฟันด้วยด้วยแปรงสีฟันขนอ่อนนุ่ม
ภาวะไตบกพร่อง: ดูแลให้น้ำอย่างเพียงพอ ควบคุมกรด- ด่าง
CISPLATIN
IV
ปัญหาการทรงตัวและการเคลื่อนไหว
E’lyte imbalance
แนะนำการดื่มน้ำเยอะๆ
ลดอาการข้างเคียง
VINCRISTINE
IV
Abnormal EKG, CHF
อาการปวดแสบปวดร้อน บวมแดง
บริเวณที่ฉีดยา
ถ้ายารั่วออกนอกเส้นเลือดดูแลโดยการประคบเย็น
Constipation:ดื่มน้ำเยอะๆรับประทานผัก ผลไม้
DOXORUBICIN
IV
SE:ผมร่วง ผลกระทบต่อการทำงานของหัวใจ
คลื่นไส้อาเจียนภูมิต้านทานลดลง(เม็ดเลือดขาวต่ำ)พบในช่วง7-14วัน เล็บมีสีคล้ำ ปัสสาวะมีสีแดงซึ่งเป็นสีของตัวยาพบอาการนี้ใน1วันเมื่อได้รับยา
การดูแล : Monitor EKG , IV hydration
4.การปลูกถ่ายไขกระดูก
รังสีรักษา (RADIOTHERAPY)
รังสีรักษาเป็นการรักษาโดยใช้รังสีเข้าไปทำลายก้อน
หรือเซลล์มะเร็ง
S/E
1.ผลข้างเคียงที่เกิดทันที(Acuteeffect)
มีผลต่อการทำลายเยื่อบุนั้นโดยตรง
ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นภายหลัง (Late effect)
ได้รับแสงรังสีบริเวณนั้นมากเกิดไป
อาการข้างเคียงชนิดนี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วมักจะไม่สามารถกลับมาปกติได้
การดูแล
ห้ามให้ผู้ป่วยทาโลชั่นก่อนเข้ารับการรักษา