Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหา ทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสม -…
บทที่ 9 การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหา
ทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสม
โรคภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
พบบ่อยในเด็กที่อายุต่ำกว่า 5 ปี มักเกิดจากการได้รับอาหารที่มีธาตุเหล็กน้อย ปัญหาการดูดซึมที่ลำไส้ไม่ดี
จากท้องร่วงเรื้อรัง หรือมีการอักเสบของลำไส้
อาการและอาการ
แสดง
ซีด
เหนื่อยง่าย:
ปวดศีรษะ เฉื่อยชา
ชีพจรเร็ว ความดันโลหิตต่ำ
เบื่ออาหาร อาหารไม่ย่อย ท้องผูกหรือท้องเสีย
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การให้เหล็กโดยการกิน
แก้ไขปัญหาที่เป็นสาเหตุ
การให้เลือด
โรคธาลัสซีเมีย
โรคซีด ชนิดที่มีความผิดปกติของการสร้างฮีโมโกลบิน ทำให้ RBC มีลักษณะผิดปกติและแตกง่าย (hemolyticanemia) ทำให้ซีด เหลือง ตับม้ามโต โรคธาลัสซีเมียเป็นโรคพันธุกรรม
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติในการ
สังเคราะห์โกลบิน
ทำให้การสร้างฮีโมโกลบินลดลงโดยที่สูตรโครงสร้างของฮีโมโกลบินยังเป็นปกติ
ทำให้เม็ดเลือดแดงมีอายุสั้นเกิดปัญหาซีดเรื้อรังตั้งแต่แรกเกิด
ชนิดของโรค
กลุ่มอาการรุนแรงมาก
ได้แก่ ฮีโมโกลบินบาร์ทโฮดรอพส์ ฟิทัลลิสเป็นชนิดที่รุนแรงที่สุด ส่วนใหญ่เสียชีวิตในครรภ์มารดาหรือภายในไม่กี่ชั่วโมงหลังคลอดพบว่าทารกมีลักษณะบวมน้ำทั้งตัว คลอดลำบาก ซีดตับม้ามโต มีรกขนาดใหญ่
กลุ่มอาการรุนแรงปานกลาง
ได้แก่ โฮโมซัยกัสเบต้า-ธาลัสซีเมียและเบต้า-ธาลัสซีเมีย/ฮีโมโกลบินอี แรกเกิดปกติ จะเริ่มมีอาการตั้งแต่ภายในขวบปีแรกหรือหลังจากนั้นอาการสำคัญ คือ ซีด อ่อนเพลีย ตาเหลือง ท้องป่อง ตับม้ามโต กระดูก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจนับจำนวนและดูลักษณะของเลือดเลือดแดง ได้แก่ Hematocrit,Hemaglobin, Mean corpuscularvolume ซึ่งมักพบว่ามีปริมาณต่ำทุกตัวนอกจากนั้นมักพบเม็ดเลือดแดงมีปริมาณต่ำทุกตัว
การรักษา
การรักษาทั่วไป
อธิบายให้ผู้ป่วยและผู้ปกครองเข้าใจเกี่ยวกับโรคการถ่ายทอดทางพันธุกรรม การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการเกิด
ภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และหลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง ระวังการติดเชื้อ
การให้เลือด
เพื่อเพิ่มปริมาณเม็ดเลือดแดงในร่างกาย
การผ่าตัดม้าม
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
การให้คำปรึกษาทางพันธุศาสตร์
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากเม็ดเลือด
แดงแตก
ภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากภาวะเหล็ก
เกิน
โรคภาวะโลหิตจางจากไขกระดูกไม่
ทำงาน
ภาวะโลหิตจางจากไขกระดูกไม่ทำงาน หรือโรคไขกระดูกฝ่อ(Aplastic Anemia) เป็นภาวะที่มี RBC, WBC,Plt. น้อยลงหรือไม่มีเนื่องจากมีความผิดปกติ
สาเหตุ
ความผิดปกติแต่กำเนิด
(Congenital)
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นภายหลัง จากการ ทำลายของเนื้อเยื่อ stem cell ในไขกระดูก จากหลายสาเหตุดังนี้
ไม่ทราบสาเหตุ (idiopathic)
การได้รับยาบางชนิด ได้แก่
ยาเคมีบำบัด,
การได้รับสารเคมีบ่อยๆ ซึ่งเป็นพิษต่อระบบเลือด เช่น ยาฆ่าแมลงทินเนอร์
เกิดภายหลังการติดเชื้อ เช่น ไวรัสตับ
อักเสบ
เกิดภายหลังการได้รับรังสีการรักษา
ในขนาดสูง
พยาธิสภาพ
การได้รับสารเคมี ยา หรือเชื้อจุลชีพบางชนิด รวมทั้งการได้รับรังสีรักษา และภาวะผิดปกติในระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในไขกระดูกทำให้มีการทำลายเซลล์ต้นกำเนิด (Stem cell) มีผลทำให้จำนวนเซลล์ต้นกำเนิดลดลง หรือทำให้กระบวนการเจริญเติบโตของเซลล์ต้นกำเนิดไปเป็นเซลล์เม็ดเลือดชนิดต่างๆ เสียไป ทำให้เม็ดเลือดทั้งสามชนิดลดลง และเกิดอาการของโรคขึ้น
อาการและอาการ
แสดง
Low Platelet
เลือดออกในอวัยวะต่างๆ มีจุดจ้ำเลือดตามลำตัวและแขนขา เลือดออกตามไรฟันและเลือดกำเดา เลือดออกในทางเดินอาหาร ทำให้มีอาการอาเจียนหรือถ่ายเป็นเลือด
Low RBC
ซีด เหนื่อยง่าย ชีพจรเบาเร็ว และถ้ามีการเสียเลือดร่วมด้วย ทำให้มีอาการซีดรุนแรงเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้
การวินิจฉัย
การเจาะไขกระดูก
การตรวจนับเม็ดเลือดทั้งสามชนิด
การรักษา
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
ใช้ในผู้ป่วยเด็กที่ไขกระดูกไม่ทำงานขั้นรุนแรง คือ ซีดเลือดออก และติดเชื้อรุนแรง ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยฮอร์โมน
ใช้ในผู้ป่วยเด็กที่มีอาการไม่รุนแรงมากเนื่องจากฮอร์โมนAndrogen จะกระตุ้นให้ร่างกายมีการหลั่ง Erythropoietin
ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง
การรักษาด้วยยากดระบบ Immune
ใช้ในผู้ป่วยเด็กภาวะโลหิตจางจากไขกระดูกไม่ทำงานที่มีผลต่อการตรวจวินิจฉัยยืนยันว่าไขกระดูกไม่ทำงานจากปฏิกิริยาทางอิมมูน
การรักษาตามอาการ
โรคภาวะเกล็ดเลือดต่ำโดยไม่ทราบสาเหตุ:ITP
ภาวะที่มีเกล็ดเลือดน้อยกว่า100,000 เซลล์/ไมโครลิตรระดับเกล็ดเลือดต่ำกว่า 20,000 เซลล์/ไมโครลิตร ถือว่ามีภาวะเกล็ดเลือดต่ำรุนแรง และอาจเกิดการมีเลือดออกในอวัยวะ
สาเหตุ
การสร้างเกล็ดเลือดลดลง เนื่องจาก
โรคของไขกระดูกเอง
เกล็ดเลือดถูกทำลายมากกว่าปกติ
เกล็ดเลือดถูกใช้ไปมากกว่าปกติ
พยาธิสภาพ
การตรวจเลือดทางห้องปฏิบัติการจะพบว่ามี Platelet antibody หรือ Platelet –associated Immunoglobulinบนผิวของเกล็ดเลือด ซึ่งทำให้เกล็ดเลือดถูกทำลายอย่างรวดเร็วเกล็ดเลือดมีหน้าที่เสริมความแข็งแรงของเยื่อบุหลอดเลือดเมื่อมีการฉีกขาดของหลอดเลือด เกล็ดเลือดจะเกาะกันเป็นกลุ่มเกิดเป็น platelet plug เพื่ออุดหลอดเลือดที่ฉีกขาด และยังหลั่งสารบางชนิดที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกลไกการห้ามเลือด
อาการและอาการแสดง
เลือดกำเดาไหล
เลือดออกในเยื่อบุต่างๆ
ผู้ป่วยจะไม่มีอาการผิดปกติอื่นๆร่วมด้วย เช่น ตับ ม้าม ต่อมน้ำเหลืองไม่โตแต่อาจตรวจพบอาการซีด
อาการและอาการ
แสดง
เลือดออกตามผิวหนัง ได้แก่Petechiae Ecchymosis
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
ส่วนใหญ่โรคหายได้เอง 70-80 %
ภายในเวลา 1-2
ฮีโมฟีเลีย
เลือดออกง่ายหยุดยาก ถ่ายทอดทางพันธุกรรม X – linkedrecessive จากการขาดปัจจัยในการแข็งตัวของเลือด
มีเลือดออกง่าย หยุดยาก พบจ้ำเขียวตามตัว แขนขา อาจพบจ้ำใหญ่หรือก้อนนูน หลังจากฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ พบเลือดออกมากหลังฟันหลุดหรือถอนฟัน ได้รับอุบัติเหตุตำแหน่งที่พบเลือดออก
สาเหตุ
ฮีโมฟีเลีย A (Classical Hemophilia)
พร่องแฟคเตอร์ 8
ฮีโมฟีเลีย B (Christmas disease)
พร่องแฟคเตอร์ 9
ฮีโมฟีเลีย C พร่องแฟคเตอร์ 11
พยาธิสภาพ
องค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือด ซึ่งเป็นโปรตีนที่ไหลเวียนอยู่ในกระแสเลือด เมื่อมีการฉีกขาดของหลอดเลือด องค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือด ซึ่งมี 11 ตัว จะมีปฏิกิริยาต่อเนื่องกันจนเกิดไฟบรินมาปิดหลอดเลือดที่ฉีกขาด จะมีกลไกการละลายลิ่มเลือด (fibrinolysis) เกิดขึ้น เพื่อให้เลือดไหลเวียนผ่านหลอดเลือดที่เคยฉีกขาดต่อไปได้ดังเดิม
การดูแล
ให้ FFP หรือ Cryoprecipitate
ห้ามเลือดและลดการมีเลือดออก ในวันแรกประคบด้วยความเย็นเพื่อให้เลือดหยุด วันต่อมาประคบด้วยน้ำอุ่นเพื่อให้ลิ่มเลือดละลายเร็วขึ้น
ถ้าเลือดออกในข้อให้ใช้ผ้ายืดพันไว้และให้พักข้อนิ่งๆ ป้องกันและหลีกเลี่ยงการทำให้เลือดออก / สังเกตอาการทางระบบประสาท
คำแนะนำสำหรับผู้ปกครองในการดูแลเด็ก
โรค Hemophilia
มีบัตรประจำตัวติดตัวเด็กตลอดเวลา
ชื่อระบุ โรคที่เป็น
การป้องกันอุบัติเหตุ การจัดสิ่งแวดล้อม การเล่นการสวมเสื้อผ้า เฉพาะในเด็กและวัยรุ่นโรคนี้
การพาเด็กมารับ Vaccine ใช้เข็มเล็ก
สุด กดนาน 5-10
โรคเลือดออกจากการมี Prothrombin ต่ำ : APCD
ภาวะเลือดออกผิดปกติในทารกขวบปีแรก เนื่องจากขาดองค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือดตัวที่ 2 7 9 และ10(Prothrombin Complex) โดยส่วนใหญ่จะมีอาการเลือดออกในสมอง พบมากที่สุดในช่วงอายุ 1-2 เดือน
สาเหตุ
ทารกแรกเกิดมีวิตามิน เค ในเลือดน้อยมาก
ทารกไม่ได้รับวิตามิน เค เมื่อแรกเกิด
การได้รับอาหารเสริมที่ไม่ถูกต้อง
พยาธิสภาพ
เมื่อร่างกายขาด โปรทรอมบิน คอมเพล็กซ์ ทำให้กระบวนการแข็งตัวของเลือดหยุดชะงักในระยะของการสร้างโปรทรอมบินและทรอมบิน ทำให้การสร้างไฟบริน เพื่อช่วยในการอุดรอยฉีกขาดของหลอดเลือดหยุดชะงักไปด้วย จึงเกิดภาวะเลือดออกผิดปกติในอวัยวะต่างๆ โดยเฉพาะในสมอง
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกในสมอง ทางเดินอาหาร
ผิวหนัง
อาการซีด
มีจ้ำเขียวตามตัว หรือเลือดหยุดยาก
อาการตับโต
การรักษา
เมื่อได้รับการวินิจฉัยแล้ว ให้วิตามินเค2-5 มิลลิกรัม เข้าทางหลอดเลือดดำ เป็นเวลา1- 3 วัน
ให้ Fresh Frozen Plasma ถ้าผู้ป่วยมีอาการเลือดออกรุนแรง เพื่อเป็นการเพิ่มโปรทรอมบิน คอมเพล็กซ์
ให้เม็ดเลือดแดงเข้มข้น (Packed Red
Cell) ถ้าซีดมาก
ภาวะพร่องเอนไซม์ G-6-P-D
(G-6-P-D DEFICIENCY)
ทำให้เม็ดเลือดแดงอายุสั้นกว่าปกติ ทำให้เกิดการแตกของเม็ดเลือดแดงอย่างเฉียบพลัน ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ
X – linkedส่วนใหญ่พบในเพศชาย
สาเหตุ
ยา
สารเคมี
อาหาร
การติดเชื้อ:
พยาธิสภาพ
ภาวะที่มีระดับเอ็นไซม์ลดลงหรือมีโครงสร้างที่ผิดปกติเซลล์อื่นๆ ซึ่งมีนิวเคลียสจะสร้างเอ็นไซม์ขึ้นมาใหม่ แต่เซลล์เม็ดเลือดแดงซึ่งไม่มีนิวเคลียสจะไม่สามารถสร้างเอ็นไซม์ได้ทำให้เม็ดเลือดแดงมีสภาวะที่ไม่คงทนเนื่องจากฮีโมโกลบินเกิดการเสื่อมสภาพ ตกตะกอนเป็นHeinz bodies ทำให้เม็ดเลือดแดงเสียความยืดหยุ่นเกิดการแตกทำลายได้ง่าย
อาการและอาการแสดง
ซีดลงอย่างรวดเร็ว
ปัสสาวะดำเป็นสีโค๊ก
ภาวะไตวาย
ตัวเหลืองภายหลังคลอดในทารกแรกเกิดที่
มีภาวะพร่องเอ็นไซม์ G-6-P-D
ภาวะซีดเรื้อรัง
การรักษา
หาสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการ
ซีด
การรักษาภาวะแทรกซ้อน เช่น
ภาวะไตวาย
ให้เลือด ถ้ามีอาการซีดมากๆ
ทารกแรกเกิดที่มีอาการตัวเหลือง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันในเด็ก(ACUTE LEUKEMIA)
มะเร็งเม็ดเลือดขาว คือกลุ่มของโรคที่มีความผิดปกติของเม็ดเลือดขาวที่มีการสร้างเม็ดเลือดขาวทั้งในรูปของตัวอ่อนและตัวแก่ออกมามากมายและควบคุมไม่ได้ ทำให้มีจำนวนของเซลล์เม็ดเลือดขาวตัวอ่อนแทรกอยู่ในไขกระดูกและอวัยวะต่างๆ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอิลอยด์
เกิดจากความผิดปกติของเม็ดเลือดขาวชนิดมัยอิลอยด์ พบได้บ่อยกว่าชนิดลิมฟอยด์ ถึงแม้มะเร็งมักจะพบบ่อยในผู้ป่วยสูงอายุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมฟอยด์
มักพบในผู้ป่วยอายุน้อยหรือผู้ป่วยสูงอายุ อาจพบภาวะต่อมน้ำเหลืองโตร่วมด้วยได้
สาเหตุ
รังสี
ยา
พันธุกรรม
ติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
ไข้ ซีด เลือดออก ปวดข้อหรือปวดกระดูก ตับ ม้าม และต่อม น้ำเหลืองมีขนาดโต มีก้อนที่คอหรือในท้อง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC: พบ Hct ต่ำ, เกร็ดเลือดต่ำเม็ดเลือดขาวมักสูงเป็นหมื่นหรือแสนตัวต่อลบ.มม.
เจาะไขกระดูก
การรักษา
การให้เคมีบำบัด
การแก้ไขภาวะซีด ภาวะติดเชื้อ
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
(HODGKIN’S DISEASE)
กลุ่มโรคที่เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์ในต่อมน้ำเหลืองผิดปกติ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยาของอวัยวะในระบบน้ำเหลือง โดยทั่วไปพบในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง แต่อาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัส การได้รับยากดภูมิคุ้มกันเป็นระยะเวลานานๆ
Lymphoma จะถูกแบ่งออกเป็นสอง
ชนิด
Hodgkin’sLymphoma (Hodgkin’s Disease,HL)
Lymphoma(non-Hodgkins’sLymphoma หรือ NHLs)
พยาธิสภาพ
เกิดจากการที่เซลล์ในต่อมน้ำเหลืองที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งในร่างกาย มีการแบ่งตัวผิดปกติ จนเกิดเป็นก้อน ตำแหน่งที่พบบ่อย คือ ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ
อาการและ
อาการแสดง
ต่อมน้ำเหลืองโต
ตับม้ามโต
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
ระยะของโรค
Stage Iเป็นที่ต่อมน้ำเหลืองต่อมเดียวหรือกลุ่มเดียว หรือเป็นเพียงแห่งเดียว ยกเว้นตับ ปอด ไขกระดูก
Stage IIเป็นต่อมน้ำเหลืองหลายกลุ่ม แต่ยังอยู่ด้านเดียวกันของกระบังลม
Stage IIIเป็นต่อมน้ำเหลืองทั้งสองข้างของกระบังลม หรือเป็นที่ต่อมน้ำเหลืองและอวัยวะอื่นๆ อีก 1 แห่ง
Stage IVเป็นที่อวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย ทั้งในต่อมน้ำเหลืองและนอกต่อมน้ำเหลือง เช่น ตับ ปอด ไขกระดูก ระบบประสาทส่วนกลาง
การรักษา
ผสมผสานระหว่างเคมีบำบัด รังสีรักษา
และการปลูกถ่ายไขกระดูก
ยาเคมีบำบัดที่ได้ผลดี:Cyclophosphamide, Vincristine, เพรดนิโซโลน
มะเร็งที่ไต (WILM’S TUMOR)
ภาวะเนื้อไต มีการเจริญเติบโตผิดปกติ
กลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต
อาการและอาการแสดง
คลำพบก้อนในท้อง
เบื่ออาหาร ปัสสาวะเป็นเลือด และมี
อาการซีด
ความดันโลหิตสูง
การรักษา
ผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออก
รังสีรักษา ที่บริเวณตำแหน่งของโรค
ให้เคมีบำบัด
ห้ามคลำท้อง
มะเร็งเนื้อเยื่อประสาท
(NEUROBLASTOMA)
มะเร็งเกิดจากเซลล์ประสาทอ่อน(Neural crest) พบโรคได้ตามแนวของเส้นประสาทซิมพาเธติค
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่นอน แต่เนื่องจากเป็นเนื้องอกที่พบมากในวัยเด็ก
พยาธิสภาพ
ก้อนเนื้องอกมักเป็นก้อนขนาดใหญ่ที่เกิดจากการแบ่งตัวผิดปกติของเซลล์ประสาทอ่อน (neural crest) ซึ่งมีทั่วไปในร่างกาย แต่มักพบที่บริเวณต่อมหมวกไตชั้นเมดัลลา (adrenalmedulla) จึงทำให้มีอาการท้องโตหรือคลำก้อนได้ในท้องตำแหน่งอื่นๆ ที่อาจพบก้อน ได้แก่ แนวเส้นประสาทซิมพาเธติค เช่น ในช่องอก ช่องไขสันหลัง คอ หลังลูกตา
อาการและอาการแสดง
มักพบที่บริเวณต่อมหมวกไตชั้นเมดัลลา (adrenalmedulla) มีอาการท้องโตหรือคลำก้อนได้ในท้อง
ถ้ามีการแพร่กระจายของมะเร็งอาจมี
ตาโปน
เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลง ซีด อ่อนเพลีย ปวดกระดูก
การวินิจฉัย
การเจาะไขกระดูก อาจพบเซลล์มะเร็ง
การตรวจเลือด อาจพบภาวะซีด เกล็ดเลือดต่ำ หากมีการกระจายของโรคเข้าไปในไขกระดูก
Ultrasound, CT abdomen
การรักษา
การผ่าตัด
การให้รังสีรักษา หลังผ่าตัด
การให้ยาเคมีบัดบัด
การปลูกถ่ายไขกระดูก