Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบเลือดและนีโอพลาสมา - Coggle Diagram
ระบบเลือดและนีโอพลาสมา
ทางโลหิตวิทยา
-
-
-
-
โรคเกล็ดเลือดต่ำ (ITP)
เกล็ดเลือดน้อยกว่า 100,000 เซลล์/ไมโครลิตร
ระดับเกล็ดเลือดต่ำกว่า 20,000 เซลล์/ไมโครลิตร ถือว่ามีภาวะเกล็ดเลือดต่ำรุนแรง และอาจเกิดการมีเลือดออกในอวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย โดยไม่จำเป็นต้องได้รับบาดเจ็บ (spontaneous
bleeding)
-
พยาธิ
-
การตรวจเลือดทางห้องปฏิบัติการจะพบว่ามี Platelet antibody หรือ Platelet – associated Immunoglobulin
บนผิวของเกล็ดเลือด ซึ่งทำให้เกล็ดเลือดถูกทำลายอย่างรวดเร็ว
-
เกล็ดเลือดจะเกาะกันเป็นกลุ่มเกิดเป็น platelet plug เพื่ออุดหลอดเลือดที่ฉีกขาด และยังหลั่งสารบางชนิดที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกลไกการห้ามเลือด
อาการและอาการแสดง
-
-
-
ผู้ป่วยจะไม่มีอาการผิดปกติอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น ตับ ม้าม ต่อมน้ำเหลืองไม่โตแต่อาจตรวจพบอาการซีด ถ้าภาวะเลือดออกเกิดขึ้นช้าๆ และไม่รุนแรง
-
การรักษา
-
บางรายที่ไม่หาย หรือมีเลือดออกใต้ผิวหนังหลายแห่ง หรือมีจุดเลือดออกในปากควรให้กิน prednisolone เพื่อให้ผนังของหลอดเลือด แข็งแรงขึ้น ในรายที่เกล็ดเลือดเพิ่มขึ้นก็ค่อยๆ ลดขนาดของยาลงจนหยุดยา
Hemophilia
-
มีเลือดออกง่าย หยุดยาก พบจ้ำเขียวตามตัว แขนขา อาจพบจ้ำ
ใหญ่หรือก้อนนูน หลังจากฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ พบเลือดออกมากหลังฟันหลุดหรือถอนฟัน ได้รับอุบัติเหตุตำแหน่งที่พบเลือดออกได้บ่อย
-
สาเหตุ
- ฮีโมฟีเลีย A (Classical Hemophilia) พร่องแฟคเตอร์ 8 พบได้บ่อยที่สุด ประมาณ 80-85 % ของโรคฮีโมฟีเลีย
- ฮีโมฟีเลีย B (Christmas disease) พร่องแฟคเตอร์ 9 พบได้ประมาณ 10-15 % ของโรคฮีโมฟีเลีย
- ฮีโมฟีเลีย C พร่องแฟคเตอร์ 11 พบได้ประมาณ
5 % ของฮีโมฟีเลีย อาการไม่รุนแรงมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ autosomal recessive
การดูแล
-
ห้ามเลือดและลดการมีเลือดออก ในวันแรกประคบ
ด้วยความเย็นเพื่อให้เลือดหยุด วันต่อมาประคบด้วยน้ำอุ่นเพื่อให้ลิ่มเลือดละลายเร็วขึ้น
ถ้าเลือดออกในข้อให้ใช้ผ้ายืดพันไว้และให้พักข้อ
นิ่งๆ ป้องกันและหลีกเลี่ยงการทำให้เลือดออก / สังเกตอาการทางระบบประสาท
-
-
-
-