Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของ รก น้ำคร่ำ และความผิดปกติของทาร…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของ
รก น้ำคร่ำ และความผิดปกติของทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
(Intra Uterine Growth Restriction: IUGR)
สาเหตุ
ด้านมารดา
มารดามีรูปร่างเล็ก
ภาวะขาดสารอาหาร
ภาวะโลหิตจางรุนแรง เช่น โรคธาลัสซีเมีย
มารดามีภาวะติดเชื้อ
โรคของมารดา เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไตเรื้อรัง
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพของมารดา
การตั้งครรภ์แฝด มักทำให้มวลของรกต่อทารกแต่ละคนลดลง
ด้านทารก
ความพิการแต่กำเนิด
การติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์ เช่น cytomegalovirus
ความผิดปกติของโครโมโซม เช่น trisomy 21, trisomy 13, trisomy 18
การจำแนกประเภทของ IUGR
ทารกโตช้าในครรภ์แบบได้สัดส่วน (symmetrical IUGR)
ทารกโตช้าในครรภ์แบบไม่ได้สัดส่วน (asymmetrical IUGR
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
2.1 การตรวจครรภ์ พบว่าขนาดของมดลกูเล็กกว่าอายุครรภ์ 3 เซนติเมตรขึ้นไป
2.2 การชั่งน้ำหนักของสตรีตั้งครรภ์ พบว่า น้ำหนักเพมิ่ขึ้นนอ้ยหรือไม่มีการเพมิ่ขึ้นของ น้ำหนัก
การตรวจด้วยคลื่นความถี่สงู (ultrasound)
3.1 วัดเส้นรอบท้อง (Abdominal Circumference = AC)
3.2 วัดขนาดของศีรษะทารก (Biparietal diameter = BPD)
3.3 วัดเส้นรอบศรีษะ (Head circumference = HC)
3.4 วัดความยาวของกระดูกต้นขา (femur length = FL)
3.5 ปริมาณน้ำคร่ำ (amniotic fluid volume)
3.6 เกรดของรก (placenta grading)
การรักษา
การ ซักประวัติของมารดา การตรวจด้วย U/S
ตรวจเฝ้าระวังสุขภาพของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด โดยการตรวจ U/S ทกุ 2-3 สัปดาห์
กำหนดเวลาการคลอดที่เหมาะสม
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ
1 แนะนำมารดาเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร หลีกเลี่ยงการใช้ยาหรือสารเสพติด
2 แนะนำให้มารดาพักผ่อนมาก ๆ โดยเฉพาะการนอนตะแคงซ้าย
3 ติดตามสุขภาพของทารกในครรภ์ โดยแนะนำให้มารดานับลูกดิ้นทุกวัน
ระยะคลอด
1 ประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
2 ติดตามประเมินความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
3 ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและเสียงหัวใจทารกทุก ½ - 1 ชั่วโมง
4 หลีกเลี่ยงการให้ยาแก้ปวด
5 กุมารแพทย์ และเตรียมอุปกรณ์ในการช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิดไว้ให้พร้อม
ในระยะหลังคลอด ให้การดูแลทารกเพื่อเฝ้าระวัง และป้องกันการเกิดภาวะ hypoglycemia, hypothermia, polycythemia
การตั้งครรภ์ที่ทารกมีจำนวนมากกว่า 1 คน (Multiple/Twins pregnancy)
ชนิดและสาเหตุการตั้งครรภ์แฝด
แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวหรือแฝดแท้
(monozygotic twins / identical twins)
แฝดที่เกิดจากไข่คนละใบ หรือแฝดเทียม
(dizygotic twins/ fratemal)
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
ระยะตั้งครรภ์
มีอาการคลื่นไส้อาเจียนมาก
มีภาวะโลหิตจางเนื่องจากครรภ์แฝดมีการเพิ่มขึ้นของ blood volume มากกว่าครรภ์ เดี่ยวปกติ
การตกเลือดก่อนคลอด เช่น รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด
เกิดภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากตั้งครรภ์พบมากกว่าครรภ์เดี่ยวและมีแนวโน้มเป็นเร็ว และรุนแรง
ไม่สุขสบายจากอาการปวดหลัง
เสี่ยงต่อการแท้งสูงหรือคลอดก่อนกำหนดซึ่งเป็นปัญหาที่พบบ่อย
เกิดถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ตั้งครรภ์แฝดน้ำ
เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์ (gestational diabetes)
ระยะคลอด
กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวผิดปกติเนื่องจากมีการยืดขยายมากเกินไป
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ระยะหลังคลอด
ตกเลือดหลังคลอด พบได้มากกว่าครรภ์เดี่ยวเนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดีหรือมีภาวะรกค้าง
การติดเชื้อหลังคลอด
การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอาจเกิดความยาดลำบาก
ผลต่อทารก
การแท้ง
ทารกตายในครรภ์
ภาวะคลอดก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกขาดออกซิเจน (asphyxia)
Twin-twin transfusion syndrome (TTTS)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย ตรวจหน้าท้อง
2.1 ขนาดของมดลูกโตมากกว่าอายุครรภ์ (size > date)
2.2 คลำพบมี ballottement ของศีรษะหรือคลำได้ทารกมากกส่าหนึ่งในบริเวณที่ต่างกันของ มดลูก
2.3 คลำได้ small part มากกว่าปกติ
2.4 ฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ได้ 2 แห่งซึ่งฟังได้ชัดในตำแหน่งที่ต่างกันและอัตราการเต้นที่ แตกต่างกัน
2.5 ยังคลำทารกได้ที่มดลูก
การตรวจพิเศษ
3.1 ตรวจด้วยอัลตราซาวด
3.2 ระดับฮอร์โมน estriol, HCG, HPL สูงกว่าปกติ
3.3 การถ่ายภาพรังสีทางหน้าท้อง (radiographic examination
การดูแลรักษา
ต้องวินิจฉัยให้ได้เร็วที่สุด (early diagnosis)
ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ดูแลการเจริญเติบโตของทารกอย่างใกล้ชิด
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะอันตรายต่อทารกในระยะคลอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลให้ได้รับอาหารอย่างเพียงพอ
เฝ้าระวังการเกิดภาวะโลหิตจางอาจให้โฟลิคเสริม
เฝ้าระวังการความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์
ควรงดมีเพศสัมพันธ์เพื่อลดความเสี่ยงของการคลอดก่อนกำหนดในไตมาสที่ 3 ของการ ตั้งครรภ์
ติดตามการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ระยะคลอด
1.การพิจารณาวิธีการคลอด
1.1การคลอดทางช่องคลอด ทารกแฝดมีส่วนนำกลุ่มท่าหัว-ท่าหัว หรือท่าหัว-ไม่ใช่ท่าหัว (ก้น-ขวาง) ถ้าน้ำหนักทารกมากกว่า 1,500 กรัม
1.2 การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง กลุ่มที่ไม่ใช่หัว-หัวหรือไม่ใช่หัว-ไม่ใช่หัว ให้การผา่ตัด คลอดทางหน้าท้องทุกราย
ในรายที่ได้รับการประเมินจากสูติแพทย์ให้คลอดทางช่องคลอด
2.1 ตลอดระยะเวลาการเจ็บครรภ์คลอด ให้ติดตั้งเครื่อง EFM ไว้ตลอดเวลาเพื่อประเมิน ภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์
2.2 ตรวจความเข้มข้นของเลือด และเตรียมเลือดไว้ให้พร้อม
2.3 ให้มารดางดน้ำ งดอาหาร และให้สารน้ำ
2.4 การให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกควรให้ด้วยความระมัดระวัง
2.5 การช่วยเหลือการคลอดแฝดครรภ์แรก
2.6 การช่วยเหลือการคลอดของแฝดคนที่สอง
2.7 ถ้าเป็นท่าหัว ให้ผู้ช่วยคลอดกดมดลูกหรือรอจนศีรษะเข้าสู่ช่องเชิงกรานหรือเกิด head engage แล้วจึงเจาะถุงน้ำ หลังจากนั้นให้คลอดเองทางช่องคลอด
2.8 ถ้าเป็นท่าก้น ให้ทำ external cephalic version
2.9 ถ้าเป็นท่าขวางให้ทำ external cephalic version
2.10 ระยะเวลาที่เหมาะสมระหว่างรอให้แฝดคนที่สองคลอด สามารถรอได้ถึง 30 นาที แต่ ต้องตรวจการเต้นของหัวใจทารกตลอดเวลา
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี โดยให้ oxytocin drug
ป้องกันการติดเชื้อโดยดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาและประเมินการติดเชื้อ
แนะนำการดูแลบุตร การเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา
แนะนำวิธีการคุมกำเนิด
ทารกพิการ (Fetal anormaly)
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
1 ความผิดปกติของโครโมโซม
2 ความผิดปกติของยีนเดียว เป็นโรคที่เกิดจากการกลายพันธุ์ของยีนใดยีนหนึ่ง โรค ที่พบบ่อยเช่น ธาลัสซีเมีย, G-6-PD
.3 ความผิดปกติชนิดพหุปัจจัย เกิดจากความผิดปกติของยีนหลายตัวร่วมกับปัจจัย ทางสิ่งแวดล้อม เช่น โรคที่มีความผิดปกติของระบบประสาท neural tube
สิ่งแวดล้อม
ความพิการจะเกิดในช่วง 3 เดือน แรกของการตั้งครรภ์ เช่น การใช้ยา การติดเชื้อ สภาพของมารดา และปัจจัยจากมดลูก ปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อทารกในครรภ์ รวมเรียกว่า Teratogen
ความผิดปกติของทารก
Malformation 2. Disruption 3. Deformation 4. Dysplasia
การป้องกัน
การให้คำแนะนำปรึกษาทางพันธุศาสตร์
1.1 ก่อนการตงั้ครรภ์ในรายที่มีภาวะเสี่ยง จะตอ้งได้รบัการให้คำแนะนำปรึกษาทาง พันธุศาสตร์ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์
1.2 เมื่อตั้งครรภ์ จะทำการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด เพื่อค้นหาความพิการแต่กำเนิด ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เช่น การเจาะน้ำคร่ำ การตัดชิ้นเนื้อรกไปตรวจ
1.3 การให้คำปรึกษาภายหลังการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด
1.4 หลีกเลี่ยงการสัมผัส Teratogen เช่น โรคหัดเยอรมัน หรือ ยาบางชนิด บุหรี่ สาร เสพติดที่อาจมีผลทำให้ทารกมีความพิการแต่กำเนิดได้
ปากแหว่งเพดานโหว่
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
สิ่งแวดล้อม เช่น มารดาติดเชื้อหัดเยอรมันในช่วงตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก
อาการและอาการแสดง
มีลมรั่ว เข้าไปขณะดูดนม ทารกต้องออกแรงมากในการดูดนม จะพบอาการท้องอืดหลังจากดูดนม
ทารกที่มีเพดานโหว่มักจะสำลักน้ำนมขึ้นจมูกและเข้าช่องหูชั้นกลางหรือสำลักนมเข้าปอดได้
การได้ยินผิดปกติ
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น
การพยาบาลทารกแรกเกิด
ดูแลด้านจิตใจสำหรับบิดา มารดา
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลทารกแรกเกิดที่พบปัญหาปากแหว่ง เพดานโหว่ เช่น เตรียมลูกสูบยางแดงไว้เพื่อดูดเสมหะในปากหรือจม
ดูแลการให้นมแม่
ภายหลังการให้ทารกดูดนมหรือให้นมต้องไล่ลมเป็นระยะ ๆ ทุก 15-30 นาที และจัดท่า นอนหัวสูงและนอนตะแคงขวาให้ใบหน้าตะแคงเพื่อป้องกันอาการท้องอืด อาเจียน และสำลัก
ดาวน์ซินโดรม
สาเหตุ
เกิดจากการมีโครโมโซมเกินไป 1 แท่ง คือโครโมโซมคู่ที่ 21 มี 3 แท่ง แทนที่จะมี 2 แท่ง ตามปกติ ความผิดปกตินี้เรียกว่า trisomy 21
อาการ
1.ศีรษะและตา มีศีรษะแบนกว้าง
2 จมูกและหู มีจมูกไม่มีสัน ใบหูเล็กอยู่ต่ำกว่าปกติ
3 ปากและคอ มีเพดานปากโค้งนูน
4 ทรวงอกและหัวใจ มีกระดูกซี่โครงสั้นกว่าปกติ
5 ท้อง มีหน้าท้องยื่น กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อนยาน
.6 มือและเท้า มีมือกว้างและสั้น มักมีเส้นลายนิ้วมือตัดขวางหรือตัดกลางเพื่อยงเส้น เดียวบนฝ่ามือ นิ้วมือป้อมสั้น นิ้วก้อยโค้งงอเข้า
7 กล้ามเนื้อและกระดูก ตัวเตี้ย เหยียดออกมากผิดปกติ
การรักษา
การรักษาในปัจจุบันเป็นการรักษาแบบประคับประคองตามอาการ มุ่งเน้นให้เด็กสามารถ ช่วยเหลือตัวเองได้
ทารกตายในครรภ์ (Fetal demise)
สาเหตุ
ด้านมารดา
มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์โรคทางอายุรศาสตร์ เช่น โรคความดันโลหิตสูง
มารดาอายุมากกว่า 35 ปี
ภาวะทางสูติกรรม เช่น คลอดก่อนกำหนด
ไม่มาฝากครรภ์
มีภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด รกเกาะต่ำ
ความผิดปกติของสายสะดือ
ได้รับอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บขณะตั้งครรภ์
ยาหรือสารเสพติดอื่น ๆ
ด้านทารก
มีภาวะพิการแต่กำเนิด เช่น ความผิดปกติของโครโมโซม
ทารกมีภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
มีการกดทับสายสะดือจากสายสะดือย้อย (prolapsed cord)
ด้านรก
รกลอกตัวก่อนกำหนด การติดเชื้อในโพรงมดลูก เส้นเลือดอุดกั้นในสายสะดือ สายสะดือ ผิดปกติ เช่น knot หรือ entanglement
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติมารดา
การตรวจร่างกาย
2.1 น้ำหนักตัวของมารดาคงที่หรือลดลง
2.2 คลำยอดมดลูกพบว่าไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์
2.3 ฟังเสียงหัวใจทารกไม่ได้
2.4 พบสิ่งคัดหลั่งสีน้ำตาลไหลออกทางช่องคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 ทารกไม่มีการเต้นของหัวใจ
3.2 การเกยกันของกะโหลกศีรษะ (overlapping)
3.3 มีการหักงอของกระดูกสันหลัง
3.4 ตรวจพบแก๊สในหัวใจ
3.5 ฮอร์โมน Estriol: E3 ในปัสสาวะลดลง
3.6 เอ็นไซม์ Amniotic fluid creatinekinase เพิ่มขึ้น 2 วันหลังจากที่ทารกเสียชีวิต
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ด้านร่างกายถ้าทารกตายในครรภ์เป็นเวลาตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป จะมีโอกาสเกิดภาวะเลือดไม่ แข็งตัว (coagulopathy) หรืออาจเรียกว่าภาวะ “fetal death syndrome
ด้านจิตใจ ทำให้เกิดความรู้สึกสูญเสีย ตกใจ ซึมเศร้า โทษตัวเอง อาจพบว่ามีการใช้บุหรี่ สุรา สารเสพติดหรือยากล่อมประสาทสงูกว่าประชากรทั่วไ
การรักษา
ไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ ขนาดของมดลูกโตไม่เกิน 14 สัปดาห์ ทำการ dilatation and curettage หรือ suction curettage
ช่วงไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์ เหน็บยา prostaglandin ได้แก่ PGE2 และ misoprostol ทางช่องคลอด หรือให้ oxytocin ทางหลอดเลือดดำ
ไตรมาสที่สามของการตั้งครรภ์ ให้ oxytocin ปริมาณความเข้มข้นสูง ทางหลอดเลือดดำ
การพยาบาล
ให้การประคับประคองทางด้านจิตใจ
แนะนำให้สามีและครอบครัวให้กำลังใจ ปลอบใจ
ประเมินความต้องการสัมผัสกับทารกแรกคลอดที่เสียชีวิต
ดูแลให้ได้รับการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ตามแผนการรักษาของแพทย์
ติดตามผลการตรวจเลือดเพื่อหาระยะการแข็งตัวของเลือด clotting time ระดับของ fibrinogen ในกรณีที่ทารกตายในครรภ์เกิน 2 สัปดาห์
ให้ได้รับยายับยั้งการหลั่งน้ำนมตามแผนการรักษาของแพทย์
ภาวะน้ำครำ่ผิดปกติ (Polydramnios / Oligohydramnios)
ภาวะน้ำคร่ำมากผิดปกติ (polyhydramnios)
อุบัติการณ
การเกิดครรภ์แฝดน้ำ
พยาธิสรีรวิทยา
ความสมดุลของปริมาณน้ำคร่ำในครรภ์มารดา สัมพันธ์กับปริมาณของเหลวที่เข้าและออก จากถุงน้ำคร่ำ ซึ่งจะแตกต่างกันตามอายุครรภ์
สาเหตุ
ด้านมารดา ได้แก่ มารดาเป็นโรคเบาหวานระหว่างตงั้ครรภ์
ด้านทารก ซึ่งมีความสัมพันธ์กบัการกลืนของทารก ความผดิปกติของระบบประสาท การอุด กั้นของระบบทางเดินอาหาร ความพิการของทารกในครรภ์ เช่น ภาวะอุดตันของระบบ ทางเดินอาหาร (GI tract obstruct)
การจำแนกชนิด
ภาวะน้ำคร่ำมากอย่างเฉียบพลัน (acute hydramnios ) พบได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 20-24 สัปดาห์
ภาวะน้ำคร่ำมากเรื้อรัง (chronic hydramnios ) พบว่าปริมาณน้ำคร่ำจะค่อยๆเพิ่มขึ้น อาการและอาการแสดงจะคล้ายๆกันกบัภาวะน้ำคร่ำมากอยา่งเฉียบพลัน
ผลต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
1.อึดอัด หายใจลำบาก ท้องอืด
อาจเกิดการคลอดก่อนกำหนด
ช็อคจากความดันในช่องท้องลดลงอย่างรวดเร็ว
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อหลงัคลอด
ผลต่อทารก
เสี่ยงตอ่การเกิดภาวะพิการ และการคลอดกอ่นกำหนด
เกิดภาวะ fetal distress จากการเกิดสายสะดือย้อย (prolapsed umbilical cord)
ทารกอยทู่่าผิดปกติและไม่คงที่
อาการและอาการแสดง
แน่นอึดอัด หายใจลำบาก เจบ็ชายโครง
มีอาการบวมบริเวณเท้า ขา และปากช่องคลอด
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
การวินิจฉัย
การซักประวัติอาการ
การตรวจร่างกาย
2.1 หน้าทอ้งขยายใหญ่
2.2 คลำหาส่วนต่างๆของทารกได้ลำบาก
2.3 ฟังเสียง FHS ไม่ได้ยินหรือได้ยินไม่ชัดเจน
2.4 น้ำหนักตัวมารดาเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วมากกว่า 1 กิโลกรม/สัปดาห์
การตรวจทางหอ้งปฏบิัติการ การหาค่า amniotic fluid index (AFI)
การดูแลรักษา
การเจาะดูดน้ำคร่ำออก (amnioreduction)
การรกัษาด้วยยา prostaglandin synthetase inhibitors
รับประทานอาหารที่มโีปรตีนสูง
ให้ยาขับปัสสาวะหากพบมีภาวะบวม
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก (tocolytic drug)
การเจาะถุงน้ำในระยะคลอด ให้น้ำคร่ำไหลช้าที่สุด
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องในรายที่มีส่วนนำและท่าของทารกที่ผิดปกติ
ในระยะหลังคลอดหากมารดามีอาการตกเลือด ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ประเมินการเกิดภาวะตั้งครรภ์แฝดน้ำจากการซักประวัติอาการและอาการแสดง การตรวจ ร่างกาย
ดูแลเพื่อบรรเทาอาการอึดอัดแน่นท้อง จากการขยายตัวของมดลกู
ระยะคลอด
ให้นอนพักบนเตียง เพื่อปอ้งกันภาวะน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ฟัง FHS ในระยะ latent ทุก 30 นาที และระยะ active ทกุ 15 นาที
ให้ได้รับสารน้ำและอาหารตามแผนการรักษา
ขณะแพทย์เจาะถงุน้ำ ต้องระมัดระวงัให้น้ำคร่ำไหลออกมาอย่างช้าๆ แล้วควรจัดให้มารดา นอนพักบนเตียงเพื่อปอ้งกันภาวะสายสะดือย้อย
ระยะหลังคลอด
ให้การพยาบาลเหมือนกบัหญิงตั้งครรภ์แฝด โดยเฉพาะดูแลการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อป้องกัน การตกเลือดหลงัคลอด
ภาวะนำ้คร่ำน้อย (oligohydramnios)
สาเหตุ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์มีภาวะผิดปกติ โดยเฉพาะระบบของไตและระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น ไตตีบ (renal agenesis)
ความผิดปกติของโครโมโซม เช่น trisomy 18, turner syndrome
รกเสื่อมสภาพ
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา มีโอกาสผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้องมากกว่าการตั้งครรภป์กติ เนื่องจากทารกในครรภ์เสี่ยงต่อ การเกิดภาวะ fetal distress
ผลต่อทารก
มีโอกาสคลอดก่อนกำหนด
ภาวะปอดแฟบ (pulmonary hypoplasia)
Amniotic band syndrome
ทารกอยู่ในภาวะคับขัน (fetal distress)
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
การวินิจฉัย
การวัดโพรงน้ำคร่ำทลี่ึกทสีุ่ดในแนวดิ่ง (maximum ventrical pocket, MVP)
การวัดดัชนีน้ำคร่ำ amniotic fluid index (AFI)
ในกรณีที่อายุครรภ์น้อยกว่า 10 สปัดาห์ ขนาดของถงุน้ำครำ่ (mean gestational sac) กบั ขนาดของทารก
การรักษา
การเกิดภาวะน้ำคร่ำน้อย ในช่วงไตรมาสทสี่องของการตงั้ครรภ์ ควรให้การดูแลรักษา ดังนี้
• การเติมน้ำคร่ำ (amnioinfusion) ด้วย normal saline/ ringers lactate 5% glucose เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ปอดแฟบ ความพิการผิดรูปของ ใบหน้าและแขน ขา • การดื่มน้ำมากๆ ทำให้ปรมิาณน้ำคร่ำเพมิ่ขึ้นเล็กน้อย และได้ผลชั่วคราวเท่านั้น • การประเมินภาวะความผิดปกติแต่กำเนิด และการรักษาภาวะทารกเจริญเตบิโตช้าใน ครรภ์ (IUGR)
การเกิดภาวะน้ำคร่ำน้อยในช่วงไตรมาสทส่ีาม ควรเฝ้าตรวจติดตามสุขภาพทารกใน ครรภ์อย่างใกล้ชิดโดยการทำ non-stress test (NST) ตรวจวัดดัชนีน้ำคร่ำ ตรวจ biophysical profile 1-2 ครงั้ต่อสปัดาหจ์นกระทั้งคลอด
การพยาบาล
อธิบายถึงสาเหตุการเกิดภาวะดังกล่าว และแนวทางการรักษา
ดูแลให้ได้รบัการใส่สารน้ำเข้าไปในถุงน้ำคร้ำ (amnioinfusion) ตามแผนการรกัษาของแพทย์
รับฟงัปัญหา แสดงความเห็นอกเห็นใจ และกระตุ้นให้หญิงตงั้ครรภ์ระบายความรู้สึก