Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาในครั้งแรก พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคําสั่งแพทย์ พร้อมกับ เช็คยาและจํานวนให้ตรงตามฉลากยา หากไม่ตรงให้แจ้งเจ้าหน้าที่ทันที
การซักประวัติ จะถามเรื่องการแพ้ยาทุกครั้งดูสติ๊กเกอร์สีแสดงแพ้ยาที่ติดอยู่ขอบ OPD card และดูรายละเอียดใน OPD card ร่วมด้วยทุกครั้ง
เมื่อมีคําสั่งใหม่ หัวหน้าเวร ลงคําสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยาเนื่องจากความผิดพลาดด้านบุคคลโดยเฉพาะยาน้ำ
เวรบ่าย พยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบ MAR กับคําสั่งแพทย์ให้ตรงกัน และดูยาในช่องลิ้นชักยาอีกครั้ง
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้าย NPO และเขียนระบุว่า NPO เพื่อผ่าตัดหรือเจาะเลือดเช้าให้อธิบายและแนะนําผู้ป่วยและญาติทุกครั้ง
กรณีคําสั่งสารน้ำ+ยา B co 2 ml ให้เขียนคําว่า +ยา B co 2 ml ด้วยปากกาเมจิกอักษรตัวใหญ่บนป้ายสติ๊กเกอร์ของสารน้ำให้ชัดเจนเพื่อสังเกตได้ง่าย
การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบช้าก่อนให้ยา ให้ตรวจสอบ 100% เช็คดูตามใบ MAR ทุกครั้ง
การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยาและให้พยาบาลตรวจดูยา ในลิ้นชักของผู้ป่วยทุกเตียง
ให้ยึดหลัก 6R ตามที่กล่าวมาข้างต้น
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การประเมินสภาพ
ประเมินดูว่าผู้ป่วยมีข้อห้ามในการให้ยาทางปากหรือไม่
ประวัติการแพ้ยา
ประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อดูหน้าที่การทํางานของ ตับ ไต
การได้รับสารน้ำเพียงพอหรือไม่
ความรู้ความเข้าใจเรื่องยาที่ได้รับ
การปฏิบัติตัวในการได้รับยา
การวินิจฉัยการพยาบาล
รวบรวมข้อมูลจากการประเมินสภาพได้ทั้งหมดแล้วนำมาจัด หมวดหมู่ข้อมูลที่เป็นปัญหา
ผู้ป่วยมีปัญหาหรือไม่มีปัญหาที่จะได้รับยาขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ประเมินมาได้ ในขั้นตอนแรก แล้วให้การวินิจฉัยพยาบาล
3.การวางแผนการพยาบาล
หลังจากได้ข้อมูลและปัญหาหรือข้อบ่งชี้ในการให้ยาแล้วทาการ วางแผนหาวิธีการว่าจะให้ยาอย่างไร ผู้ป่วยจึงจะได้ยาถูกต้อง
การปฏิบัติการพยาบาล
เป็นการปฏิบัติการให้ยาตามแผนที่วางไว้ไปปฏิบัติ โดยยึดหลัก ความถูกต้อง 7 ประการ และคานึงถึงบทบาทพยาบาลในการให้ยา
การประเมินผล
เนื่องจากยาที่ให้นอกจากจะมีผลทํางการรักษา แล้วยังอาจทําให้เกิดปฏิกิริยา ที่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยได้ ดังนั้นหลังจากให้แล้วต้องกลับมาตามผลทุกครั้ง เพื่อดูผลของยาต่อผู้ป่วยทั้ง ด้านการรักษา และผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ รวมถึงการแพ้ยาด้วย
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา
การประเมินประวัติโรคประจำตัว ประวัติการใช้ยา และประวัติการแพ้ยา/แพ้อาหาร
ประเมินอาการข้างเคียงจากการใช้ยา
ประเมินอาการที่ดีขึ้นหรือเลวลง
ติดตามความร่วมมือในการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง
การส่งต่อ
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจําเป็น
พิจารณาข้อมูลที่สําคัญของผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการเลือกใช้ยาหรือการรักษาแบบไม่ใช้ยา ในการรักษาและการส่งเสริมสุขภาพ
พิจารณาข้อมูลที่สําคัญของผู้ป่วยเพื่อประกอบการปรับขนาดยา
ประเมินความเสี่ยงและประโยชน์ของการใช้ยาและไม่ใช้ยา
ใช้ความรู้ด้านเภสัชศาสตร์ของยาที่อาจมีการเปลี่ยนแปล
พิจารณาโรคร่วม ยาที่ใช้อยู่ การแพ้ยา ข้อห้ามการใช้ยา และคุณภาพชีวิตที่อาจส่งผล กระทบต่อการเลือกใช้ยา
คํานึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาของผู้ป่วย
พัฒนําความรู้ให้เป็นปัจจุบัน ใช้แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้
เข้าใจเรื่องเชื้อดื้อยา และแนวทางการป้องกันและควบคุมเชื้อดื้อยา
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา
ชี้แจงทางเลือกในการรักษา
ระบุและยอมรับความแตกต่ํางระหว่างบุคคล ค่านิยม ความเชื่อ และความคาดหวัง
อธิบายเหตุผลและความเสี่ยง/ประโยชน์ของทางเลือกในการรักษาที่ผู้ป่วย/ผู้ดูแลเขา้ใจได้
ประเมินความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยอย่ํางสม่ำเสมอ
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย/ผู้เกี่ยวข้องเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลโดยไม่ คาดหวังว่าการสั่งยานั้นจะเป็นไปตามที่ต้องการ
ทําความเข้าใจกับการร่วมปรึกษาหารือก่อนใช้ยาเพื่อผลลัพธ์ที่นำไปสู่ความพึงพอใจของทุก ฝ่ํายที่เกี่ยวข้อง
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
เข้าใจโอกาสที่จะเกิดผลไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
เข้าใจการสั่งจ่ายยาของแพทย์ตามกรอบบัญชียาหลักแห่งชาติ
ตรวจสอบและคํานวณการใช้ยาให้ถูกต้อง
คํานึงถึงโอกาสที่จะเกิดการใช้ยาผิด
ใช้ข้อมูลที่ทันสมัยเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ใช้ระบบที่จำเป็นเพื่อการบริหารยาอย่างมีประสิทธิภาพ
สื่อสารข้อมูลเกี่ยวกับยาและการใช้ยาแก่ผู้เกี่ยวข้อง
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ
ตรวจสอบความเข้าใจและความมุ่งมั่นตั้งใจของผู้ป่วย/ผู้ดูแลในการจัดการ
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับยาที่ชัดเจน เข้าใจได้ง่ําย และเข้าถึงได้กับผู้ป่วย/ผู้ดูแล
แนะนำผู้ป่วย/ผู้ดูแลเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ในเรื่องยา และการรักษํา
สร้างความมั่นใจให้ผู้ป่วย/ผู้ดูแล
สนับสนุนผู้ป่วย/ผู้ดูแลใหม้ส่วนรับผิดชอบในการจัดการตนเองเรื่องยาและภําวะเจ็บป่วย
สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้
ทบทวนแผนการบริหารยาให้สอดคล้องกับแผนการรักษาที่ผู้ป่วยได้รับ
ต้องมีการติดตามประสิทธิภาพของการรักษาและอาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยา
ค้นหาและรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาโดยใช้ระบบการรายงานที่เหมาะสม
ปรับแผนการบริหารยาให้ตอบสนองต่ออาการและความต้องการของผู้ป่วย
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
รู้เกี่ยวกับชนิด สําเหตุ ของความคลาดเคลื่อนทางยาที่พบบ่อย
ระบุความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการสั่งยาผ่ํานสื่อหรือบุคคลอื่น
พัฒนาหาความรู้ให้ทันสมัยอยู่เสมอในประเด็นใหม่ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้ ยา
รํายงานความคลาดเคลื่อนในการใช้ยา และ ทบทวนการปฏิบัติเพื่อป้องกัน การเกิด
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ และเป็นไปตํมหลักเวชจริยศาสตร์
มั่นใจว่ําพยาบาลสามารถสั่งจ่ํายยาได้ตามพรบ.วิชําชีพและพรบ.ยาแห่งชําติ
ยอมรับความรับผิดชอบส่วนบุคคลในการสั่งยาและเข้าใจในประเด็นกฎหมายและจริยธรรม
รู้และทํางานภายใต้กฎหมาย และระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการสั่งยา
สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่างต่อเนื่อง
สะท้อนคิดการบริหารยาของตนเองและการสั่งยาของผู้เกี่ยวข้อง
เข้าใจและใช้เครื่องมือหรือกลไกที่เหมาะสมในการปรับปรุงการบริหารยาและการสั่งยา
สามารถทํางานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ
มีส่วนร่วมกบัสหวิชาชีพเพื่อให้มั่นใจว่าการดูแลมีความต่อเนื่องเชื่อมโยงกันในทุกหน่วยโดยไม่ขัดแย้ง
สร้างสัมพันธภาพกับทีมสหวิชาชีพ
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา
สั่งยาผิดขนาด
สั่งยาผิดชนิด
ผิดวิถีทาง
ผิดความถี่
สั่งยาที่มีประวัติแพ้
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา
ที่หอผู้ป่วย หมายถึง พยาบาลลอกคําสั่งแพทย์หรืออ่านคําสั่งแพทย์ไม่ถูกต้อง
ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ หมายถึง เจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ ทําหน้าที่คัดกรองการลง ข้อมูลยาในคอมพิวเตอร์ไม่ครอบคลุม
ที่เภสัชกรรม หมายถึง เจ้าหน้าที่ห้องยา/เภสัชกร อ่ํานคําสั่งแพทย์ ไม่ถูกต้อง
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา
ผิดชนิดยา
รูปแบบยา
ความแรงยา
ขนาดยา
วิธีใช้ยา
จํานวนยาที่สั่งจ่าย
จ่ํายยาผิดตัวผู้ป่วย
จ่ํายยาที่เสื่อมสภาพ หรือหมดอายุ
จ่ํายยาที่ไม่มีคําสั่งใช้ยา เตรียมยาผิด
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
การให้ยาไม่ครบ
การให้ยาผิดชนิด
การให้ยาซึ่งผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง
การให้ยาผู้ป่วยผิดคน
การให้ยาผิดขนาด
การให้ยาผิดวิถีทาง
การให้ยาผิดเวลา
การให้ยามากกว่าจํานวนครั้งที่สั่ง
การให้ยาในอัตราเร็วที่ผิด
การให้ยาผิดเทคนิค
การให้ยาผิดรูปแบบยา