บทที่ 4 ส่วนโครงสรางรับแรงดัด
ความต้านทานต่อแรงดัด (Flexural Resistance)
โมเมนตแรงบิด (Torsion)
การออกแบบคานประกอบ (Built up Beam)
การป้องกันการโก่งทางข้าง (Lateral Deflection)
การเจาะบากหรือหยักคาน (Notch Beam)
การโก่งหรือแอ่นตัวในแนวดิ่ง (Vertical Deflection)
ความต้านทานต่อแรงเฉือน (shearing Resistance)
ความต้านทานต่อแรงกด (Bearing Resistance)
ปัจจัยที่มีผลกระทบ
เมื่อคานไม้มีความลึกเกินก่า 30 ซม. ค่าของโมดูลัสแตกหัก (Modulus of rupture) มีค่าน้อยลง
รูปร่างของหน้าตดไม้มีผลต่อกำลังต้านทานแรงดัดที่ยอมให้
พิจารณาจากหน่วยแรงเฉือนที่เกิดขึ้นในแนวนอนที่ขนานกับเสี้ยนไม้
Fh = VQ/Ib
หน่วยรงกดตั้งฉากเสี้ยนที่เกิดขึ้น
ขนาดรูตัด หรือคาน ต้องมีความแกร่งต่อการดัด
ขึ้นอยู่กับ น้ำหนกบรรทุก ช่วงความยาวและสภาพารยึดตัวของปลายคาน
ป้องกันโดยการทำค้ำยันทางด้านข้างตรงส่วนที่รับรงอัด
การลดค่าหน่วยแรงดัดที่ยอมให้ปกติ
มีผลต่อกำลังต้านทานแรงดัดของคาน
ลดระดับพื้นห้องหรืความสูงของชั้น
ความลึกที่เหลือจากการบากไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของความลึกทั้งหมด
หน่ยแรงดัดในไม้ = หนวยแรงดัดในเหล็ก * อัตราส่วนโมูลัส
เกิดจากการที่น้ำหนักหรือแรงกระทำไม่ผ่านศูนย์ถ่วงของแรงเฉือน (Shear center)
ในการคำนวจะพิจารณาแรงบิดสูงสุด
นายเจษฎา สำลี 6036014 วิศวกรรมโยธา