Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บท 4.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์, image, image - Coggle Diagram
บท 4.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์
Amniotic Fluid Embolism
การมีน้ำคร่ำเข้าไปในกระแสเลือดของมารดา
3 องค์ประกอบที่น้ำคร่ำจะพลัดเข้าสู่กระแสเลือด
:check:ถุงน้ำคร่ำแตก
:check: มีทางเปิดติดต่อกันของน้ำคร่ำกับเส้นเลือดมารดา
:check: มีการหดรัดตัวของมดลูก
อาการเด่น
: เขียว, เส้นเลือดที่หัวใจหดเกร็ง, เลือดออก, หายใจลำบาก, กระสับกระส่าย, BP ต่ำ
การพยาบาล
:check:ให้ออกซิเจน mask /ET-Tube
:check:จัดท่า Fowler’s position :
:check:ให้ IV
:check:เตรียม CPR
:check:เฝ้าระวัง DIC, PPH
Uterine Rupture
สาเหตุ
: CPD, อุบัติเหตุ, Hx.C/S
มี 2 ชนิด
Complete
>> การฉีกขาดของมดลูก :warning:
ทุกชั้น
:warning:
ทารกอาจหลุดออกมา
Incomplete
>> ฉีกขาด :warning:
บางส่วน
:warning:
ทารกอยู่ในโพรงมดลูก
อาการแสดง
ก่อนมดลูกแตก
:check:เจ็บครรภ์รุนแรง
:check:กระสับกระส่าย PR เบาเร็ว RR ไม่สม่ำเสมอ
:check:พบ Bandl’s ring
:check:I < 2" D>90'
:check:อาจพบ >> FHS ไม่สม่ำเสมอ /เลือดออกทางช่องคลอด
หลังมดลูกแตก
:check:คลำพบส่วนของทารกชัดเจนขึ้น
:check: PV พบส่วนนําลอยลอยสูงขึ้นจากเดิม
:check:หายเจ็บครรภ์
:check: มีภาวะ Hypovolemic shock
การพยาบาลหลังมดลูกแตก
เตรียมผ่าตัดซ่อมแซมมดลูก
เตรียม CPR ทั้งมารดาทารก
ติดตามภาวะ shock >> ถ้าช็อคให้ RLS / ออกซิเจน
ให้ ATB ตามแผนการรักษา
แนะนำเว้นมีบุตรอย่างน้อย 2 ปี
รกค้างรกติด
รกติด ( placenta adherents )
>> รกฝังตัวลึกว่าชั้นปกติ
Placenta accreta >> รกจะฝังติดบริเวณผิวของมดลูก
Placenta increta >> รกจะฝังติดบริเวณกล้ามเนื้อมดลูก
Placenta percreta >> รกจะฝังลึกทะลุกล้ามเนื้อมดลูก
รกค้าง(retained placenta)
>> รกไม่คลอดออกมาหลังตัวทารกคลอดแล้วภายในประมาณ 30 นาที
สาเหตุ
ขาดกลไกลการลอกตัว
: :check: uterine antony :check: รกเกาะลึก ฝังแน่น
การกลไกการขับดัน
: :check:แรงเบ่งน้อย :check:Cervix clamp
อาการแสดง
ไม่มี sign รกลอกตัว
เลือดออกทางช่องคลอดจำนวนมาก
พบชิ้นส่วนเนื้อรกหายไป
ช็อค >> มารดากระสับกระส่าย เหงื่อออก ตัวเย็น PR เบาเร็ว PB ต่ำ
การรักษา
ให้ oxytocin + controlled cord traction
หากยังไม่คลอดรายงานแพทย์เพื่อล้วงรก
สายสะดือย้อย
แบ่งเป็น 3 ชนิด
Forelying cord
>> ภาวะที่สายสะดือย้อยลงต่ำกว่าส่วนนำ แต่ถุงน้ำยังไม่แตกทำให้ถูกกดทับได้ ตรวจไม่พบทางช่องคลอด
Occult prolapsed cord
>> การเคลื่อนต่ำของสายสะดือลงมาข้างๆส่วนนำที่กว้างที่สุด (Biparietal diameter) ถุงน้ำอาจจะแตกหรือไม่แตกก็ได้ตรวจไม่พบทางช่องคลอด
Overt prolapsed cord
>>ภาวะที่สายสะดือย้อยลงต่ำกว่าส่วนนำ
อาจอยู่ในช่องคลอดหรือนอกปากช่องคลอด เมื่อถุงน้ำแตกแล้ว
ช่วยเหลือแบบฉุกเฉิน
สอดมือเข้าไปในช่องคลอด แล้วดันส่วนนำไว้ไม่ให้เคลื่อนลงมากดสายสะดือ
ให้ออกซิเจน (100%) แก่มารดาอาจจะทำให้ทารกได้รับออกซิเจนมากขึ้น
จัดท่ามารดาให้อยู่ในท่าที่ช่วยป้องกันส่วนนำไม่ให้ลงมากดสายสะดือ ให้ก้นสูง
ให้สายสะดือย้อยอยู่ในช่องคลอด ซึ่งอุ่นและไม่แห้ง
หากสายสะดือโผล่ช่องคลอด ควรเอาผ้าก๊อซชุบ NSS แล้วปิดสายสะดือ
ทำให้กระเพาะปัสสาวะโป่งตึง (bladder filling) โดยการใส่น้ำเกลือ 500-700 มล. ทางสายสวนปัสสาวะ
สายสะดือย้อยหรือสายสะดือแลบ หมายถึง ภาวะที่สายสะดือลงมาอยู่ข้าง ๆ หรืออยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์
ทารกขาดออกซิเจนในครรภ์
อาการ
abnormal FHR pattern
ทารกดิ้นน้อยลง
มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
ทารกมีภาวะเลือดเป็นกรด
การพยาบาลสตรีที่ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน
ประเมินและบันทึกเสียงหัวใจทารกอย่างต่อเนื่องด้วย electronic fetal monitoring
ดูแลให้ออกซิเจนและสารละลายทางหลอดเลือดดำเมื่อพบว่าเสียงหัวใจทารกผิดปกติหรือพบขี้เทาในน้ำคร่ำ
จัดให้นอนตะแคงซ้ายเพื่อส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงรก
หยุดยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
เตรียมผู้คลอดสำหรับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตการหรือการผ่าตัดคลอด
เตรียมผู้คลอดสำหรับการทำ amnioinfusion และช่วยเหลือแพทย์ในการทำหัตถการ
รายงานกุมารแพทย์และเตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพทารกให้พร้อมใช้
อธิบายให้ผู้คลอดและครอบครัวทราบถึงภาวะที่เกิดขึ้นภาวะแทรกซ้อนและแผนการรักษา เพื่อลดความวิตกกังวล
สาเหตุ
มดลูก
: หดรัดตัวรุนแรง
รก
: เสีื่มสภาพ
ทารก
: ติดเชื้อ, พิการ
สายสะดือ
: ถูกกดทับ
มารดา
: ซีด, ขาดน้ำ, ขาดสารอาหาร
Uterine inversion
Uterine inversion :
ภาวะที่มดลูกปลิ้นตลบเอา :red_flag:
ผนังด้านใน
ออกมาอยู่ด้านนอก:warning:หรือโผล่:warning:ออกมาทางช่องคลอด
แบ่งเป็น 3 ชนิด
Incomplete inversion
: ส่วนที่ปลิ้น :!:
ยังไม่พ้นปากมดลูก
Complete inversion
: ส่วนที่ปลิ้น :!:
พ้นปากมดลูก
Prolapsed of inverted uterus
: ส่วนที่ปลิ้น :!:
เคลื่อนต่ำลงมานอกปากช่องคลอด
อาการ
:check: PV พบก้อนเนื้อที่ปากมดลูก ช่องคลอด หรือออกมานอกช่องคลอด
:check: ปวดท้องรุ้นแรง
:check:คลำยอดมดลูกเป็น
แอ่งคล้ายปล่องภูเขาไฟ
:check: เสียเลือดมาก ช็อกได้
การพยาบาล
การช่วยเหลือภาวะฉุกเฉิน
ประเมินความรู้สึกตัว และ Vital signs ทุก 5-15 นาที
รายงานแพทย์ดันมดลูกกลับ ภายใต้การดมยาสลบ >> ดันมดลูกโดยใช้นิ้วมือผลักกลับเข้าไปเริ่มตั้งแต่ปากมดลูกเรื่อยๆจนถึงก้อนมดลูกค้างมือไว้ 3-5 นาที
ผ้าชุบน้ำเกลือคลุม กรณีปลิ้นออกนองช่องคลอด
มดลูกกลับเข้าที่ >> ฉีด Methergin/Oxytocin
แก้ Shock >> ให้ IV, morphine ระงับปวด
manual reinversionไม่สำเร็จ >> ผ่าตัด
เตรียม CPR เมื่อเกิดภาวะ shock
ประเมินชนิดของมดลูกปลิ้นอย่างรวดเร็ว
ป้องกันโดยการทำคลอดรกให้ถูกวิธี
ตกเลือดหลังคลอด
ความหมาย
คลอดเอง เสียเลือด > 500 ml
C/S เสียเลือด > 1000 ml
สาเหตุ
ระยะแรก>>ใน 24 hr
Tone : ความผิดปกติของการหดรัดตัวของมดลูก
Trauma : การบาดเจ็บหรืออันตรายที่เกิดขึ้นกับช่องทางคลอดและอวัยวะสืบพันธุ์
Tissue : การเหลือค้างของผลผลิตจากการตั้งครรภ์เช่นรก , ทารกในครรภ์
Thrombin : ความผิดปกติของเกร็ดเลือดและระบบการแข็งตัวของเลือด
ระยะหลัง >>หลัง 24 hr
มีเศษรกค้าง
การติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
มีเนื้องอกในโพรงมดลูก
ไข่ปลาอุก
มดลูกไม่เขา้อู่ ( Subinvolution)
อาการ
คลํามดลูกอาจพบว่าอยู่เหนือระดับสะดือ
มีเลือดออก ไหลออกมาให้เห็นทางช่องคลอด
กระสับกระส่าย ซีด ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตตํ่า เหงื่อออก ใจสั่น ตัวเย็น รู้สึกกระหายนํ้า ระยะแรกจะหายใจเร็ว ต่อไปจะหายใจช้าลง มีอาการหนาว ถ้าอาการรุนแรงอาจช็อก และตายได้
การรักษา
คลึงมดลูก
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
รักษาตามสาเหตุ
ดูแลกระเพาะปัสสาวาะให้วว่าง
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกถึงขนาดและลักษณะ
กรณีช็อค >> ให้ IV และเตรียม CPR
Precipitous labor
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
มดลูกหดรัดตัวรุนแรง
Hx. คลอดเฉียบพลัน
ครรภ์หลัง, แรงต้านทานที่เนื้อเยื่อที่ช่องคลอดไม่ดี
ทารกตัวเล็ก
ผู้คลอดไวต่อการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
อาการ
เจ็บครรภ์มาก I>5 ครั้งใน 10 นาที
ปากมดลูกเปิดขยายเร็ว
:red_flag:ครรภ์แรก : ปากมดลูกเปิด≥5 cms./hr.
:red_flag:ครรภ์หลัง :ปากมดลูกเปิด
≥10 cms./hr.
ระยะเวลาในการคลอด
: ระยะที่ 1 < 3, ระยะที่ 2 ˂ 10 นาที
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
Hematoma
ช่องทางคลอดฉีกขาด
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ
มดลูกแตก
ภาวะน้ าคร่ำาอุดกั้นปอด
ทารก
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกินไป
อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน
เลือดออกในสมอง
ได้รับบาดเจ็บจากการช่วย
คลอดไม่ทัน
การดูแลรักษา
เตรียมการช่วยเหลือการคลอดให้ทันเวลา
การให้ยา : ในรายที่ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวให้หยุดยาทันที
การให้ยา : หลังคลอดให้ Methergin, Antibiotic
การผ่าตัด : ในรายที่มี Tetanic contraction ปากมดลูกยังไม่เปิดหมด