Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
การบริหารยาฉีด
วิธีการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
ทำความสะอาดผิดด้วยสำลีชุบ alcohol
ถอดปลายเข็มออก จับกระบอกฉีดยาตั้งขึ้น ไล่อากาศ
ถือกระบอกฉีดยาข้างที่ถนัด มือข้างที่ไม่ถนัดทำผิวบริเวณที่ฉีดยาให้ตึง
แทงเข็มทำมุม 90 องศา
ยึดหัวเข็มแบะกระบอกให้มั่นคง
เมื่อยาหมดใช้สำลีกดตำแหน่งที่เข็มแทง
คลึงบริเวณฉีดยาเบาๆ เพื่อมห้ยาดูดซึม
ปลอดเข็มออกจากกระบอกฉีดยา แยกเข็มทิ้งในชามรูปไต
จัดเสื้อผ้าผู้ป่วยให้เรียบร้อย
ล้างมือให้สะอาด
การบรรเทาความเจ็บปวดจากการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
เลือกเข็มเบอร์เล็กสุดที่เหมาะสมกับชนิดยาและตำแหน่งที่ฉีด
เข็มที่ใช้ฉีดยาต้องไม่มียาเคลือบภายนอก
ใช้ Z-track technique ในการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
จัดท่าผู้ป่วยผ่อนคลายที่สุด
อย่าฉีดบริเวณที่เนื้อเยื่อแข็งหรือกดเจ็บ
แทงเข็มและดึงเข็มออกตากเนื้อเยื่ออย่างรวดเร็ว ทิศทางเดียวกัน
จับกระบอกฉีดยาให้อยู่กับขณะที่ฉีดยา
เดินยาๆเพื่อให้ยากระจายไปรอบๆ เนื้อเยื่อได้ดี
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
กระประเมินสภาพ
การวิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกเกิดภาวะเลือดออกง่าย/หยุดยาก เนื่องจากมีประวัติหรือรอยโรค
มีโอกาสเกิดการแพ้ยาจากอาการข้างเคียงที่ไม่พึ่งประสงค์
วางแผนพยาบาล
ปฏิบัติตามแผนรักษาของแพทย์
การปฏิบัติการพยาบาล
ขั้นตอนการเตรียมอุปกรณ์ การเตรียมยาฉีด และการฉีดยาตามวิถี
การประเมินผล
ควรมีการประเมินผู้ป่วยหลังจากรับยาทุกครั้ง
ตำแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
ขั้นตอนเตรียมการก่อนฉีดยา
ตรวจความพร้อมของเครื่องใช้
ถามชื่อ-สกุลของผู้ป่วย
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
เลือกบริเวณสำหรับฉีดยา ควรเลี่ยงบริเวณที่มีอักเสบ
จัดท่าผู้ป่วย
ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือ
การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง
ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาให้หมด
ผิวหนังให้ตึง
แทงเข็มมุง 5-15 องศากับผิวหนัง
ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นหรือไม่
ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยา
ใช้ปากกาเจียนรอบรอยนูนที่เกิดจากการฉีดยาแบะบอกผู้ป่วยไม่ให้ลบ
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
ตำแหน่งสำหฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
ต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
ส่วนกลางของหน้าขา
หน้าท้องระหว่างแนวใต้ชายโครง
สะบัก
ทำให้ผิวตึงก่อนฉีดยา
แทงเข็มถ้าเข็มยาว 5/8 นิ้วให้แทง 45 องศา แต่เข็มยาว 1/2 ให้แทง 90 องศา
การฉีด heparin ไม่ต้องทดสอบปลายเข็ม
การฉีดยา heparin และ insulin ห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดยา
การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
หาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
ควรฉีดบริเวณส่วนกลางของกล้ามเนื้อ มีขอบเขตเป็นรูปสามเหลี่ยม
วิธีหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อเนื้อสะโพก
แบ่งสะโพกออกเป็น 3ส่วน
Anterior
Coccyx
Superior iliac spine
แบ่งสะโพกออกเป็น. 4 ส่วน
ด้านบน มีขอบเขตตามแนวของ iliac crest
ด่านล่าง มีขอบเขตตามแนวของก้นย้อย
Medial ขอบเขตแนวแบ่งครึ่งกระดูก Coccyx
lateral ขอบเขตด้านข้างต้นขาและสะโพก
ลากเส้นจาก Posterior superior iliac spine ไปยังกระดูกต้นขา
วิธีหาตำแหน่งฉีดกล้ามเนื้อ Vastus lateraled แบ่งหน้าขาตามความยาว
วิธีเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
อุปกรณ์สำหรับการเตรียมยาฉีด
ยาฉีด
ยาที่บรรจุในหลอดจะเป็นยาน้ำ ใช้ได้ครั้งเดียว
ยาที่บรรจุในขวดจะมีทั้งชนิดผงละน้ำ
กระบอกฉีดยา
ขนาด 0.5-50 ml
เข็มฉีดยา
เกณฑ์การฉีดยา
ทางที่ให้ยาเข้าสู่ทางกาย
ความหนืดของยา
ปริมาณของยาที่จะฉีด
ขนาดรูปร่างของผู้ป่วย
ชนิดยา
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิด่างๆ
ข้อควรปฏิบัติก่อนฉีดยา
ซักถามประวัติ การแพ้ยา
วิถีทางการให้ยา วันหมดอายุ
ศึกษาเกี่ยวกับขาด ฤทธิ์ ยา
คำนวณปริมาณยาฉีดที่ผูป่วยควรได้รับ
ดูแลบริเวณสำหรับตรียมยาให้สะอาด
ตรวจดูความพร้อมของเครื่องมือ
ล้างมือให้สะอาด เช็ดมือ
วิธีเตรียมยาฉีจากยาน้ำบรรจุหลอด
ทำความสะอาดรอบคอหลอดยา
เช็ดรบคอหลอดยาด้วยสำลีชุบ alcohol
ฉีกซองกระบองฉีดยาโดยไม่ให้โดนการปนเปื้อน
สวมหัวเข็มสำหรับดุดยาเข้ากบปลายกระบอกฉีดยา
ถอดปลอกเข็มออก จับหลอดยาด้วยมือที่ไม่ถนัด
เอียงหลอดให้ปลายตัดเข็มจุ่มในน้ำยา
ตรวจสอบชื่อยาบนหลอดยา
วิธีเตรียมยาฉีดจากผงบรรจุขวด
ตรวจดูตัวทำละลาย ว่ามีฝุ่นผงหรือไม่
ทำความสะอาดจุกขวดตัวทำละลาย
ดูดตัวทำละลายตามปริมาณที่ต้องการ
ถอนเข็มและกระบอกฉีดยาออกจากขวด นำปลอกเข็มที่ถอดออกสวมครอบเข็มไว้
เขย่าขวดตัวทำละลายผงจนหมด
ทำความสะอาดจุกยาอีกครั้งด้วยสำลีชุบ alcohol
ใช้กระบอกฉีดยาพร้อมเข็มชุดเดิม
วิธีเตรียมยาฉีดจากน้ำบรรจุขวด
เขย่าขวดเบาๆ
ทำความสะอาดจุกขวดยาด้วย alcohol
ฉีกซองห่อกระบอกยาให้ระวังสารปนเปื้อน
สวมเข็มสำหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา
แทงเข็มเข้าจุกยางใช้นิ้วหัวแม่มือดันลูกสูบ
คว่ำขวดยาปรับปลายตัดเข็มอยู่ในน้ำยา
ค่อยๆปล่อยนิ้วที่ดันลูกสูบออก ยาจะค่อยๆไหลเข้าไปในกระบอก
เปลี่ยนเข็มใหม่ ขนาดความยาวที่เหมาะสม
การคำนวณขนาดยา
ความเข้มข้นของยา ( ในแต่ละส่วน ) = ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี/ปริมาณยาที่มี