Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจแต่กำเนิด ( Congenital Heart Disease ) :<3:, นางสาวปุญญิศา…
โรคหัวใจแต่กำเนิด ( Congenital Heart Disease ) :<3:
โรคหัวใจชนิดไม่เขียว :check:
Left to Right Shunt :red_cross:
Ventricular Septal Defect: VSD :green_cross:
มีรูรั่วที่ผนังกันห้องหัวใจห้องล่าง VSD เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดที่มีความผิดปกติที่ผนังกั้นระหว่าง หัวใจห้องล่างซ้ายและขวามีรูรั่วอาจพบรูเดียวหรือหลายรูขนาดแตกต่างกัน ทําให้เลือดจาก LVไหลเข้าสู่RV
:check:
• เกิดจากการสร้างผนังกันหัวใจระหว่างห้องล่างซ้ายและขวาล้มเหลว
• เกิดเมื่อตัวอ่อนในครรภ์อายระหว่าง 4-8 สัปดาห์
• พบมากที่สุด 25% ของโรคหัวใจพิการแต่กําเนิดทั้งหมด
• พบมากในเด็กDown’s Syndrome และมีความผิดปกติอื่นร่วมด้วย
• มักแสดงอาการหลังอายุ 1 สัปดาห์
พยาธิสภาพ :no_entry:
ระยะแรกความต้านทานในหลอดเลือดแดงของปอด (PVR)ยังสูงทําให้ ความดันของหัวใจห้องล่างซ้ายและขวาใกล้เคียงกัน จึงไม่เกิดการไหลลัด ของเลือดหรือผ่านรูรั่วได้น้อย
PVR จะค่อยๆลดลง จากการทีแรงดันLVมากกว่าRV ทําให้เกิด การไหลของเลือดผ่านVSDเกิด Lt to Right shunt และเลือดออกสู่ Pulmonary artery อย่างรวดเร็ว เลือดไปปอดมากขึ้นและ LV ขยายตัว ตามปริมาณเลือดทีไหลกลับจากPulmonary vein และ LA ถ้ารูรั่วขนาด ใหญ่จะทําให้หัวใจซีกซ้ายทํางานหนัก เกิดภาวะหัวใจวายได้(CHF)
เมื่อเลือดไหลผ่าน PA มาก จะทําให้หลอดเลือดขยายใหญ่ขึน และความดันPA จะเพิ่มขึ้น ทําให้กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาหนาตัวขึ้นและหัวใจห้องล่างขวามีขนาดใหญ่ขึ้น
Eisenmenger’s syndrome :no_entry:
มักเป็นเด็กโต ที่มี VSD ขนาดใหญ่ส่วนใหญ่ จะได้ประวัติ เล็กๆ มีอาการของ heart failure รุนแรง เมื่อโตขึ้นอาการดีขึ้นแต่ เด็กดูเขียวคล้ำขึ้น
สิ่งที่ช่วยในการวินิจฉัย ได้แก่ มี oxygen saturation < 95% ตรวจร่างกายอาจไม่ได้ ยิน heart murmur แต่จะมี second heart sound ดังมาก
Decrease in oxygen level, decrease function organ, Cyanosis, Polycythemia, clubbing finger tips
การวินิจฉัยVSD :no_entry:
1.ซักประวัติครอบครัว การตั้งครรภ์ของมารดาและประวัติสุขภาพ
การตรวจร่างกาย
Small VSD: ฟังพบMurmur โดยไม่พบความผิดปกติอื่น
Moderate to Large VSD: ฟังพบMurmur และอาจพบอาการแสดง ของ CHF คือ หายใจเร็ว หัวใจเต้นเร็วและแรง(Active precordium) ตับโต หัวใจโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CXR ใน Moderate to Large VSD พบหัวใจโต ขนาดหลอด เลือดปอดใหญ่ขึ้น หัวใจห้องบนและล่างซ้ายโต
EKG – Small VSD ผลปกติ, Moderate VSD ผลจะแสดงว่า ผนังกล้ามเนือหัวใจห้องล่างซ้ายหนา Large VSD ผลจะแสดง ว่าผนังกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้ายและขวาหนา
Echocardiogram – บอกตําแหน่ง ขนาด VSD และคํานวณหา ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ
Cardiac Catheterization – พบความเข้มข้นของออกซิเจนใน เลือดของหัวใจห้องบนขวามากกว่าหัวใจห้องล่างซ้าย
การรักษาVSD :no_entry:
การรักษาด้วยยา :check:
• Small VSD รักษาตามอาการ และหายเองได้ ภายในอายุ3-8ปี
• Moderate or Large อาจมีภาวะหัวใจวายร่วมด้วย รักษาด้วย
• ยารักษาหัวใจDigitalis (Lanoxin): increase the strength of the heart’s contraction Stronger but slower
• ยาขับปัสสาวะFurosemide (Lasix) (1-2 mg/kg/day)-Decrease the amount of fluid in circulation and in the lungs
• Bisoprolol (Enalapril) (0.1-0.3 mg/kg/day)- keep the heart beat regular – ควรระวังในเด็กเล็กอาจมี hypotension, hyperkalemia
การผ่าตัดเพื่อบรรเทาอาการ Palliative
การผ่าตัดเพื่อซ่อมแซมอย่างถาวรComplete repair
การรักษาด้วยการผ่าตัด :check:
ภาวะเเทรกซ้อน :no_entry:
• อาจเกิดติดเชือทีเยื่อหุ้มหัวใจ Infective endocarditis
• Pulmonary Stenosis
• แทรกซ้อนหลังการผ่าตัด อาจพบVSD หลงเหลืออยู่
• การนําไฟฟ้าผิดปกติได้
Atrial Septal Defect: ASD :green_cross:
อาการ :no_entry:
มีรูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องบน ทําให้เลือดไหลผ่านจากห้องซ้าย Lt atrium ผ่านรูรั่วไปห้องบนขวา Rt atrium ตรวจพบเสียง murmur และผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่าย หัวใจห้อง ขยายใหญ่ เมื่ออายุมากขึ้น
มักไม่ค่อยมีอาการในเด็กเล็ก ยกเว้นมี associated lesion เช่น anomalous of pulmonary venous return หรือ มีลิ้น mitral รั่ว
ASD ขนาดเล็กที่มีการไหลของเลือดผ่านปอดไม่ถึงสองเท่าปริมาณการไหลของเลือดผ่านร่างกายเด็กมักไม่ แสดงอาการเจริญเติบโตได้ปกติ
ASD ขนาดใหญ่ ที่มีการไหลของเลือดผ่านปอดมากกว่า สองเท่าของปริมาณการไหลของเลือดผ่านร่างกาย จะทำให้ มีอาการเหนื่อยง่าย เหงื่อออกมาก หายใจลําบาก
การรักษาด้วยยา :no_entry:
ASD ร่วมกับความผิดปกติของลิ้นหัวใจ มักเกิดภาวะ CHF รักษาด้วย digoxin จำกัดน้ำให้ยาขับปัสสาวะ
การวินิจฉัย :no_entry:
ซักประวัติครอบครัว การตั้งครรภ์ การเกิดอาการหลังเกิด
ตรวจร่างกายตามระบบ พบเสียงหัวใจผิดปกติ และอาการ
ตรวจวินิจฉัย CXR พบหัวใจด้านขวาโต หลอดเลือดแดงที่ปอดมีขนาดใหญ่
EKG พบ p wave สูงแหลม แสดงว่าหัวใจห้องบนขวาโต
Echocardiogram หัวใจห้องบนและล่างขวาโต บอกขนาด และชนิด ASD ได้ บอกทิศทางการไหลของเลือด
การรักษาด้วยการผ่าตัด :no_entry:
ASD รักษาด้วยการสวนหัวใจ Catheterizationได้ผลดี แบบ Closure: an atrial septal occlude
Open heart surgery: large hole หรือ ใส่ Cath ปิดไม่ได้
ภาวะแทรกซ้อน อาจเกิดหลอดเลือดที่ปอดอุดตัน เกิดลิ่มเลือด เนื่องจาก การเพิ่มขึ้นของเลือดที่ออกจากปอด
Patent Ductus Arteriosus: PDA :green_cross:
สาเหตุ :no_entry:
ทารกอยู่ในครรภ์จะมีแรงดันออกซิเจนในเลือดต่ํา Prostaglandin (ซึ่งได้จากแม่ผ่านรก)
ทารกเกิด ระดับ Prostaglandin จะต่ำลง เริ่มหายใจ แรงดันออกซิเจนในเลือดเพิ่มขึ้น ทําให Ductus arteriosus ปิด
การรักษาด้วยยา :no_entry:
ในรายที่มีภาวะหัวใจวาย รักษาด้วยยาฉีด Indomethacin มีฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง Prostaglandin Inhibito ยานี้จะมีผลต่อไตในเด็กตัวเหลืองหรือมีเลือดออกในร่างกาย รักษาด้วย Ibuprofen มีผลต่อไตน้อยกว่า
Indomethacin: NSAIDS
การรักษาด้วยการผ่าตัด :no_entry:
Ligation PDA เป็นการทําผ่าตัดแก้ไขเส้นเลือดเกินโดยการผูกหนีบด้วย คลิบหนีบเส้นเลือด หรือตัดขาดออกจากกันแล้วเย็บปิดปลายทั้งสองข้าง เป็นการผ่าตัดโดยไม่ต้องอาศัยเครื่องปอดหัวใจเทียม หรือการผ่าตัดปิดด้วยการใช้เครื่องปอดหัวใจเทียม
การเกิด PDA :no_entry:
Ductus arteriosus ยาวประมาณ 1 cm มีหูรูด เมื่อคลอดและ เริ่มหายใจ ความดันออกซิเจน Oxygen tension จะสูงขึ้น ทําให้ กล้ามเนื้อเรียบของ Ductus arteriosus หดตัว ซึ่งจะเริ่ม 10-15 ชม. หลังเกิด และจะปิดสนิทเมื่อทารกอายุประมาณ 2 -3 สัปดาห์
อาการ :no_entry:
ขึ้นกับขนาดของ PDA
Small PDA อาจไม่พบอาการ
Moderate to Large PDA จะเหนื่อยง่าย ติดเชื้อทางเดินหายใจ
หัวใจซีกซ้ายโต ตัวเล็ก น้ำหนักตัวน้อย
Murmur
Pulse pressure กว้าง ชีพจรเต้นแรง
Pulse pressure กว้าง
Pulse pressure=the force heart need to contract มักสูง
PDA พบอาการหลังคลอดหลายสัปดาห์
การวินิจฉัย :no_entry:
ตรวจร่างกาย พบ Pulse pressure กว้าง
Murmur และถ้า PDA ใหญ่ อาจตรวจพบ thrill
Silent PDA (very small) พบได้จาก echocardiography
CXR ใน large PDA พบหัวใจโต
EKG ใน large PDA พบ P wave กว้างได้ จากหัวใจโต
Echocardiography พบหัวใจข้างซ้ายโต พบทางลัดของ DA
Obstructive lesions :red_cross:
Pulmonary (valve) stenosis (PS) :recycle:
Baby born with rubella
PS along with deafness and PDA
Thickened heart valve
Not fully open
High pressure in RV
Heart work harder: heart muscle damage
Lips and nail beds cyanosis if severe
Surgery-pulmonary valve replacement
Need antibiotic ก่อนฟันขึ้นระวังEndocarditis
Side effect after intervention- pulmonary valve leak: PR
PR=pulmonary regurgitation : เลือดไหลย้อนกลับ
Cardiac catheterization by balloon valvuloplasty (สวนหัวใจ)
Aortic valve stenosis (AS) :recycle:
Congenital & Acquired
Aortic valve narrow
Fatigue
Failure to gain weight
Poor or inadequate feeding
Breathing problems
Murmur
Transcatheter aortic valve replacement: TAVR
Coarctation of aorta (CoA) :recycle:
High BP :warning:
Left ventricle - pump against pressure all the time
Enlarge, exhausted, decrease CO, heart failure
Need medical treatment to prevent
Head and neck : High BP go to brain: headache
Infant: irritable, nose bleeding, stroke
Decrease brain function
Very strong bounding upper extremities pulse
Pulse pressure -Upper-lower BP มากกว่า20 mmHg
Low BP :warning:
Absence femoral pulse
Cool extremities
Lower BP in lower extremities
Systolic murmur
Collateral circulation ระบบไหลเวียนสํารอง
ผลจากการตีบของหลอดเลือดแดงใหญ่ของร่างกาย :warning:
หัวใจห้องซ้ายมีความดันสูงขึน
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้ายหนาตัวขึน และกระต้นให้ความดัน โลหิตของร่างกายส่วนบนสูงขึ้น
เลือดไปเลี้ยงร่างกายส่วนล่างของลําตัวลดลง เกิดความแตกต่าง ของความดันโลหิตระหว่างแขน และขา
ชีพจรส่วนขาเบาลง บางรายอาจไม่มีอาการ แต่ถูกตรวจพบโดย บังเอิญในเด็กโตหรือผ้ใหญ่เช่น murmur หรือ ความดันโลหิตสูง คลําชีพจรส่วนขาเบาผิดปกติ
อาการ :warning:
ขาเย็น เท้าเย็น
หายใจเหนื่อยมากขึ้นขณะออกกำลังกาย
มึนงง
เลือดกำเดาไหล
หน้ามืด
เจ็บหน้าอก
การผ่าตัด CoA :warning:
CoA Repair บริเวณเส้นเลือดที่คอดสามารถทําผ่าตัดแก้ไข ได้หลายแบบ ได้แก่ตัดต่อใหม่ปะขยายด้วยวัสดุ สังเคราะห์หรือใช้เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงแขน ตัดตลบลงมาปะขยายส่วนที่ตีบ เป็นการผ่าตัดโดยไม่ต้อง อาศัยเครื่องปอดหัวใจเทียม
โรคหัวใจแต่กําเนิดชนิดเขียว :check:
ชนิดเขียวและมีเลือดไปปอดมาก :red_flag:
Transposition of great arteries: TGA :star:
เป็นโรคหัวใจที่มีความผิดปกติของ ตําแหน่งหลอดเลือด โดยการสลับกัน ของ Aorta กับPulmonary artery ทําให้เลือดดำมีโอกาสน้อยมากที่จะไปรับ ออกซิเจนที่ปอด ทารกจะเขียวมาก เหนื่อยมากตั้งแต่เล็ก และถ้าไม่ได้รับ การรักษาที่ถูกต้องจะเสียชีวิตในเวลา ไม่นาน มักเกิดร่วมกับVSD ASD PDA
สาเหตุ :star:
เกิดจากความล้มเหลวของการแบ่งตัวของ Truncus arteriosus ตั้งแต่ สัปดาห์ ที่ 8 ของการตั้งครรภ์ เกิดจากมารดาติดเชื้อหัด ไวรัส ขาดสารอาหาร แอลกอฮอล์ เบาหวาน อายุมากกว่า 40 ปี
การสลับของหลอดเลือด ทําให้ เด็กเขียวตั้งแต่ แรกคลอด blue-baby syndrome
General-หายใจเร็ว ตื้น หายใจลําบาก หัวใจเต้นเร็ว ผิวคล้ำ เขียว นิ้วปุ้ม กินได้น้อย ตัวเล็ก
การวินิจฉัย :star:
CXR พบหัวใจโต และขั้วหัวใจแคบและยาวคล้ายไข่ ท่าตะแคง egg on side เนื่องจากaorta and pulmonary artery ซ้อนกัน
EKG – QRS change
Echo – พบ aorta and pulmonary artery ขนานกัน ปกติจะ ไขว้ กัน
Echocardiography – ความดันใน RV and AO เท่ากับความดัน ที่วัดได้ตามแขนและขา ความอิ่มตัวของออกซิเจนต่ํากว่าปกติ
การรักษา :star:
การรักษาด้วยยา :!:
Prostaglandin E1 0.05 – 2 microgram/kg/minute หยอดเข้าหลอดเลือดดํา
การรักษาด้วยการผ่าตัด :!:
Atrial switch procedure – first week after birth สลับเปลี่ยนทางเดิน AO and PA ให้อยู่ในภาวะปกติ
Intra-arterial baffle repairs- ผ่าตัดซ่อมแซมภายใน หลอดเลือดแดง เปลี่ยนทางเดินหลอดเลือดดํา ให้เลือดไหล ไปฟอกที่ปอด
การพยากรณ์ โรคหลังผ่าตัดดี
Palliative treatment :star:
การผ่าตัดเพื่อลดปริมาณเลือดไปปอด เช่น การรัดเส้นเลือดที่ไปปอดให้เล็กลง (Pulmonary artery banding)
การผ่าตัดเพื่อเพิ่มการปนกันของเลือดในระดับ atrium คือการทํา balloon atrial septostomy หรือการทํา atrial septectomy เช่น TGA
ชนิดเขียวและมีเลือดไปปอดน้อย :red_flag:
Tetralogy of Fallot: TOF :black_flag:
สาเหตุ :explode:
เกิดจากความล้มเหลวในการเจริญเติบโตของหัวใจตั้งแต่เป็นตัวอ่อน ในครรภ์ ระยะ 3 เดือนแรก
TOF มีความผิดปกติ 4 อย่าง :check: :check: :check: :check:
VSD :check:
Overriding aorta :check:
Right ventricular hypertrophy :check:
Infundibula stenosis: กล้ามเนื้อบริเวณทางออกของ right ventricle หนาตัวผิดปกติ :check:
เป็นโรคหัวใจพิการแต่ กําเนิดชนิดเขียวที่พบบ่อย
อาการ :explode:
อาการจะมากหรือน อยขึ้นอยู่ กับขนาดและความผิดปกติของ VSD and PS
ไม่แสดงอาการเขียวตั้งแต่แรกเกิด จนกระทั่ง 3-4 เดือน
เขียวเป็นครั้งคราว เช่น ร้องไห้ อาบน้ํา กินนม มีไข้ เนื่องจากไป Rt to Lf shunt
น้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่าปกติการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้าอาการ เขียวรุนแรงขึ้นเมื่อ PDA ปิด
มีภาวะ anoxic spell เกิดจากสมองขาดออกซิเจน ทําให้ เป็นลม หน้ามืด ชัก หมดสติได้บ่อย มักเกิดหลังตื่นนอน ร้องไห้ อุจจาระ ออกกําลังกาย
มีนิ้วปุ้ม clubbed fingers and toes
มีอาการหายใจลําบาก dyspnea ต้องจับนั่งยองๆ หรือ นอนท่าเข่าชิดอก knee chest position อาการจะดีขึ้น
เด็กจะชอบนั่งยองๆ squatting เพื่อให้เกิดการพับของงหลอดเลือด ใหญ่ ที่ขาหนีบ และเพิ่มความ ต้านทานของหลอดเลือดในร่างกาย
การรักษา :explode:
การรักษาด้วยยาTOF :question:
เกิด Hypoxic spell ต้องรักษาทันที ลด metabolism พักผ่อน ให้ diazepam or chloral hydrate ให้ออกซิเจน knee chest position ให้ iv fluid บวก glucose แก้ไขภาวะไม่สมดุลของกรด ด่าง
ยาที่ห้ามเมื่อขณะมีอาการ Hypoxic spell ยาที่ทําให้ บีบหัวใจแรงขึ้น epinephrine, isoproterenol, และ cardiac glycoside
แรกเกิดอาจให้ Prostaglandin E1 เพื่อเปิด Ductus arteriosus
การรักษาด้วยการผ่าตัดTOF :question:
Palliative surgery เป็นการผ่าตัดแบบชั่วคราว ในกรณีเขียวมาก Hct มากกว่า 60 % มีภาวะ anoxic spell และไม่สามารถรักษา ได้ด้วยยา
Modified Blalock-Taussing Shunt
Corrective surgery
ภาวะเเทรกซ้อน :explode:
Cerebral abscess ฝีในสมอง
Infective endocarditis
Cerebral palsy สมองพิการ
ความผิดปกติของเส้นเลือดในปอด
ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
ไม่รักษา มีโอกาสเสียชีวิตก่อนอายุ10 ปี จากขาดออกซิเจนและสมองอักเสบ
Reye syndrome :question:
เป็นโรคที่มีความผิดปกติของตับร่วมกับสมองเกิดขึ้นอยู่ เฉียบพลันและมีความรุนแรงมักเสียชีวิตภายในเวลารวดเร็ว พบได้ บ่อยในเด็กอายุ 4-16 ปี
อาการสําคัญที่พบบ่อย ผู้ป่วยอาเจียนอย่างรุนแรง และต่อมามีอาการทางสมอง เช่น สับสน มีพฤติกรรม เปลี่ยนไป ซึมและหมดสติและผู้ป่วยเสียชีวิต
นางสาวปุญญิศา วงศ์กุนา เลขที่11 ห้อง3B