Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสม,…
บทที่ 9 การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสม
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยา
1. ซีดจากการขาดธาตุเหล็ก (Iron deficiency anemia)
พบบ่อยในเด็กที่อายุต่ำกว่า 5 ปี
มักเกิดจากได้รับอาหารที่มีธาตุเหล็กน้อย มีปัญหาดูดซึมที่ลำไส้ไม่ดี หรือมีการอักเสบของลำไส้
อาการและอาการแสดง
ซีด = สีผิว ฝ่ามือฝ่าเท้า ริมฝีปาก เหงือก เปลือกตา ด้านใน
เหนื่อยง่าย = หัวใจทำงานเพิ่มขึ้น ทำให้หมุนเวียนเม็ดเลือดแดงน้อยลงให้นำออกซิเจนไปยังเซลล์ไม่พอ
พบในคนไข้
โรคกระดูก
ท้องผูก
เบื่ออาหาร
อาการที่พบ
ปวดศีรษะ เฉื่อยชา
ชีพจรเร็ว ความดันโลหิตต่ำ
เบื่ออาหาร อาหารไม่ย่อย ท้องผูกหรือท้องเสีย
ซีด(เป็นโรคอะไรได้บ้าง)
Animia
Leukemia
Thalassemia
Aplastic anemia
ไขกระดูก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
เม็ดเลือดเเดงมขนาดเล็กจากการขาดธาตุเหล็ก และติดสี Serum Feritin น้อยกว่า 10 นาโนกรัม / ดล.
การรักษา
การให้ธาตุเหล็กโดยการกิน
แก้ไขปัญหาที่เป็นสาเหตุ เช่นการให้ยาถ่ายพยาธิ
การให้เลือด เช่นคนไข้ที่มีภาวะซีดมาก
โรคภาวะโลหิตจางจากไขกระดูกไม่ทำงาน
( Aplastic anemia )
เป็นภาวะที่มี RBC , WBC , Plt. น้อยลงหรือไม่มี
WBC ต่ำกว่าค่าปกติ (5,000 - 10,000 cells / cu.mm.)
ติดเชื้อง่าย อักเสบ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อฉวยโอกาส
มีไข้
แผลในปาก
RBC ต่ำกว่าปกติ (ผช. 13 - 18 mg / dL ผญ.12 - 16 mg / dL)
การข่นส่งออกซิเจนลดลง
ซีดรุนแรงเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้
เหนื่อยง่าย
ชีพจรเบาเร็ว
Platelet ต่ำกว่าปกติ (150,000 - 440,000 cell / mm3 )
เลือดออกง่าย
การเกาะกลุ่มของเลือด
ถ่ายอุจาระดำ
อาเจียน
เลือดออกตามไรฟัน
สาเหตุ
มีความผิดปกติตั่งเเต่กำเนิด
มีการทำงายเนื้อเยื้อ cell ต้นกำเนิด stem cell ในไขกระดูก
ได้รับยาบางชนิด เช่น ยาเคมีบำบัด ( มะเร็ง) Chloramphenical, ยาแก้ปวด,ยากันชัก
ได้รับสารเคมีบ่อยๆ ซึ่งเป็นระบบเลือด เช่น ยาฆ่าแมลง
เกิดภายหลังการติดเชื้อ ไวรัสตับอักเสบ
ได้รับรังสีการรักษาขนาดสูง
พยาธิสภาพ
ได้รับสารเคมีมากรวมถึงรังสีรักษา และภาวะผิดปกติในระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกระดูก ทำให้กระบวนการเจริญเติบโตของเซลล์ต้นกำเนิดไปเซลล?เม็ดเลือดชนิดต่างๆเสียไป ทำให้เม็ดเลือดทั้งสามชนิดลดลง และเกิดอาการขอโรคขึ้น
การวินิจฉัย
การเจาะไขกระดูก
มีไขกระดูกน้อยกว่าปกติ และอาจตัดชิ้นเนื้อมาตรวจและพบเซลล์ไขมันเพิ่มขึ้นแทนที่เซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด
การตรวจนับเม็ดเลือดทั้งสามชนิด
มีจำนวนลดลงอย่างชัดเจน
การรักษา
เปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
ใช้ในผู้ป่วยที่ไขกระดูกไม่ทำงานขั้นรุนแรง คือ ซ๊ด เลือดออก และติดเชื้อรุนแรง
การรักษาด้วยฮอร์โมน
กรตุ้นให้ร่างกายสร้าง Erythropoietin เป็นฮอร์โมนที่กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง
การรักษาด้วยยากดระบบ Immune
.ใช้ในผู้ป่วยเด็กภาวะโลหิตจางไขกระดูกไม่ทำงาน
การรักษาตามอาการ
การรักษาด้วยการให้เลือด เมื่อผู้ป่วยมีอาการซีดรุนแรง
โรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
เป็นความผิดปกติของการสร้างฮีโมโกลบินทำให้ RBC ผิดปติและแตกง่ายทำให้ hem สร้างเหล็กมาเกินไป ไปเกาะม้ามแหละตับ ทำให้เกิดอาการซีด เหลือง ตับม้ามโต
ชนิดของโรค
อาการรุนแรงมาก
ฮีโมโกลบินบาร์ทโฮดรอพส์ ฟิทัลลิส ชนิดรุนแรง ส่วนใหญ่เสียชีวิตในครรภ์มารดาไม่กี่ชั่วโมงหลังคลอด
อาการรุนแรงปานกลาง
ไฮโมไซกัส เบต้า - ธาลัสซีเมียและเบต้า - ธาลัสซีเมีย/ฮีโมโกลบินอี แรกเกิดปกติจะมีอาการภายในขวบปีแรก คือ ซีด ท้องป่อง โหนกแก้มสูง ฟันยื่น ตัวเตี้ยแคระแกรน
อาการรุนแรงน้อย
ฮีโมโกลบิรเอ็ช มีอาการ ซีดเหลืองเล็กน้อย
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ถามถึงอาการที่เคยเกิดขึ้น ทั้งครอบครัวและภาวะซีดเนื้อรัง
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ ตรวจนับจำนวนและดูลักษณะของเลือด มักพบว่ามีปริมาณต่ำทุกตัว นอกจากนั้นเม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็กและติดสีจาง
การรักษา
การรักษาทั่วไป
อธิบายเกี่ยวกับโรค เพื่อให้ผู้ป่วยเเละญาติเข้าใจ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
การให้เลือด
เพื่อเพิ่มปริมาณเม็ดเลือดแดง
การให้ยาขับธาตุเหล็ก
ลดภาวะเหล็กเกินในเลือด
การให้คำปรึกษาทางพันธุศาสตร์
การผ่าตัดม้าม
ผ่าตัดในกรณีม้ามโตหรือม้ามทำงานผิดปกติ
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
ในผูป่วยโรคธาลัสซีเมียให้หายได้ช่วยให้สร้างเม็ดเลือดแดง
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากเม็ดเลือดแดงแตก
ปัสสาวะเป็นเลือด
เส้นเลือดเปราะง่าย
เหล็กเกิน เกาะหลอดเลือด
acid animia
ภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากภาวะเหล็กเกิน
โรคภาวะเกล็ดเลือดต่ำโดยไม่ทราบสาเหตุ(Indiopathic Thrombocytopenic Purpura ) ITP
ภาวะที่มีเกล็ดเลือดน้อยกว่า 100,000 เซลล์ / ไมโครลิตร เกล็ดเลือดต่ำกว่า 20,000 เซลล์ / ไม่โครลิตรถือว่ามีเกล็ดเลือดต่ำรุนแรง
งดอาหารสีดำแดง
เกล็ดเลือดต่ำกว่า 20,000 ห้ามแปรงฟัน
สาเหตุ
การสร้างเกล็ดเลือดลดลง เนื่องจากโรคไขกระดูก
การสร้างเกล็ดเลือดลดลง เนื่องจากโรคไขกระดูก
เกล็ดเลือดถูกใช้ไปมากกว่าปกติ
พยาธิสภาพ
พบว่ามี Platelet antibody หรือ Platelet - associated Immunoglobulin บนผิวของเกล็ดเลือด ซึ่งทำให้เกล็ดเลือดถูกทำลายอย่างรวดเร็ว โดย Macrophage ที่ม้าม ทำใฟ้ระดับเกล็ดเลือดลดต่ำลงทำให้เกิภาวะเลือดออกในอวัยวะต่างๆ เพราะเกล็ดเลือดจะเกาะกันเป็นกลุ่มเกิดเป็น Platelet plug เพื่ออุดหลอดเลือดที่ฉีกขาด
อาการและอาการแสดง
จุดจ้ำเลือดที่ผิวหนัง (petechiae) และเป็นจ้ำเลือด (ecchymosis)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ได้แก่ การมีเลือดออกตามส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น จุดตามลำตัว ตามแขนขา
การตรวจร่างกาย เช่น มีเลือดกำเดาไหล
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ พบว่าเกล็ดเลือดต่ำ
การรักษา
โรคหายได้เอง 70 - 80% ควรกินยา prednisolone เพื่อให้ผนังหลอดเลือดแข็งแรงขึ้น
ฮีโมฟีเลีย (Hemophilia)
เลือกออกง่ายหยุดยาก ถ่ายทอดทางพัธุกรรม X - linked recessive ขาดปัจจัยในการแข็งตัวของเลือด
เป็นลักษณะเฉพาะ คือ เลือดออกในข้อ (hemarthrosis) โดยเฉพาะ ข้อเข่า ข้อเท้า ข้อศอก
สาเหตุ
ฮีโมฟีเลีย A (Classical Hemophilia) พร่อมเเฟคเตอร์ 8 ประมาณ 80 - 85%
ฮีโมฟีเลีย B (Christmas disease) พร่องแฟคเตอร์ 9 พบได้ประมาณ 10 - 15%
ฮีโมฟีเลีย C พร่องแฟคเตอร์ 11 พบได้ประมาณ 5%
พยาธิสภาพ
โปรตีนในกระแสเลือดเื่อมีการฉีกขาดของหลอดเลืดซ่งมี 11 ตัว จะมีปฎิกิริยาต่อเนื่องจนเกิดไฟบรินมาปิดหลอดเลือดที่ฉีกขาด จาดนั้น เกล็ดเลือดจะมารวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อเสริมกับไฟบรินทำให้เกิดลิ่มเลือดที่เเข็งแรง
ผลจากการขาดองค์แระกอบในการเเข็งตัวของเลือดทำให้ร่างกายไม่สามารถสร้างบรินได้ ยกเว้นการมีเลือดออกในข้อหรืออวัยวะที่สำคัญ เช่น สมอง ซึ่งผู้ป่วยเด็กจะแสดงอาการได้เร็ว
การดูแล
ให้ FFP Cryoprecipitate
ห้ามเลือดและลดการมีเลือดออก ในวันแรกประคบด้วยความเย็นเพื่อให้เลือดหยุด วันต่อมาประคบด้วยน้ำอุ่นเพื่อให้ลิ่มเลือดละลายเร็ว
ถ้าเือดในข้อให้ใช้ผ้ายืพันไว้และให้พักข้อ และหลดเลี่ยงการทำให้เลือดออก สังเกตุทางประสาท
เมื่อเลือดหยุด ควรเคลื่อนไหวเพื่อป้งกันข้อติด
คำแนะนำสำหรับผู้กครองในการดูแลเด็กโรค Hemophilia
มีบัตรประจำตัวติดตัวเละระบุโรคที่เป็น
การจัดสิ่งเเวดล้อมเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
การพาเด็กมารับวัคซีน
การฉีดยา ห้ามฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ถ้าจะฉีด ให้ใช้เข็มเบอร์เล็กสุด
ดูแลฟันไม่ให้ฟันผุ
หลีกเลี่ยงกีฬาที่กระทบกระแทก
ไม่ให้ผู้ป่วยอ้วน
ป้องกันภาวะท้องผูกให้อาหารอ่อน ย่อยง่าย
โรคเลือดออกจากการมี Prothrombin ต่ำ(Acquired Prothrombin Complex Deficiency Syndrome APCD )
ภาวะเลือดออกผิดปกติในทารกขวบปีแรก เนื่องจากขาดองค์ประกอบในการเเข็งตัวของเลือดตัวที่ 2 7 9 และ 10
โรค APCD เกิดจาดการขาดวิตามิน เค เป็นองค์ประกอบสำคัญในการสร้างโปรทอมบิน คอมเพล็กซ์
พยาธิสภาพ
โปรทอมบินคอมเพล็กกซ์ คือ องค์ประกอบในการเเข็งตัวของเลอดตัวที่ 2 7 9 10 ซึ่งสร้างโดยตับโดยวิตามินเค ทำให้เกิดการสร้างโปรทอมบิน เมื่อร่างกายขาดโปรทอมบินคอมเพล็กซ์ ทำให้กระบวนการเเข็งตัวของเลือดหยุดชะงักในระยะของการสร้างโปรทอมบนและทรอมบิน ทำให้การสร้างไฟบริน เพื่อช่วยในการอุดรอยฉีกขาดของลอดเลือดหยุดชะงักไปด้วย จึงเกิดภาวะเลือดออกผิดปกติในอวัยวะต่างๆ โดยเฉพาะในสมอง
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกในสมอง ทางเดินอาหาร ผิวหนัง อาการมักเกิดเฉียบพลัน
อาการซีด
มีจ้ำเขียวตามตัว เลือดหยุดยาก
ตัวโตในเด็กบางราย
บางรายที่มีเลือดออกจากสมอง อาจมีอาการพิการทางสมอง
การรักษา
ให้วิตามินเค 2-5 มิลลิกรัม เข้าทางหลอดเลือดดำ เป็นเวลา 1-3 วัน
ให้ Fresh plama เพื่อเพิ่มโปรทอมบิน คอมเพล็กซ์
ให้เม็ดเลือดแดงเข้มข้น ถ้าซีดมาก
ภาวะพร่องเอนไซม์ G-6-P-D (G-6-P-D DEFICIENCY)
ถ่ายทอดทางพันธุ์กรรมแบบ X-linked ส่วยใหญ่พบในเพศชาย
สาเหตุ
ยา
ยารักษามาลาเรีย ยาปฎิชีวนะ เช่น Chloramphenical
ยาแก้ปวด เช่นaspirin,paracetamal
สารเคมี
เสื้อผ้าที่อบด้วยลูกเหม็น
อาหาร
ถั่วปากอ้าดิบ
การติดเชื้อ
ไทฟอยด์ ปอดอักเสบ ตับอักเสบ ไข้หวัด มาลาเรีย
พยาธิสภาพ
เซลล์ในภาวะที่มีระดับเอนไซม์ลดลงหรือมีโครงสร้างที่ผิดปกติ เซลล์อื่นๆ ซึ่งมีนิวเคลียร์จะสร้างเอนไซม์ขึ้นมาใหม่ แต่เซลล์เม็ดเลือดแดงซึ่ไม่มีนิวเคลียสจะไม่สามารถสร้างเอนไซม์ได้ทำให้เม็ดเลือดแดงมีสภาวะที่ไม่คงทนเนื่องจากฮีโมโกลบินเกิดเสื่อมสภาพ ตกตะกอนเป็น Heinz bodies ทำให้เม็ดเลือดแดงเสียความยืดหยุ่น เกิดการแตกทำลายได้ง่าย
อาการและอาการแสดง
ซีดลอย่างรวดเร็ว
ปัสสาวะดำเป็นสีโค๊ก (hemoglovinuria)
ภาวะไตวาย เนื่องจากมีกรดยูริกเพิ่มจำนวนขึ้นไปอุดหลอดเลือดฝอยในไต
ตัวเหลืองภายหลังคลอดในทารกแรกเกิดที่ีภาวะพร่องเอ็นไซม์ G-6-P-D
ภาวะซีดเรื้อรัง
การรักษา
หาสาเหตุที่มำให้ผู้ป่วยเกิดอาการซีด ได้แก่ ชนิดของยาหรือสารเคมี
รักษาภาวะแทรกซ้อน เช่นภาวะไตวาย
ให้เลือด
ถ้าทารกมีอาการตัวเหลืองมาก รักษาด้วย Phototherapy
นางสาวรุ่งนภา อินทร์ทิม รหัส 61001041 เลขที่ 42