Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหา ทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสม -…
บทที่ 9 การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหา
ทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสม
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยา
โรคภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
(Iron Deficiency Anemia)
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย เพื่อสังเกตและหาสาเหตุภาวะซีดได้แก่ สีผิว ฝ่ามือฝ่าเท้า ริมฝีปาก เยื่อบุตา
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เม็ดเลือดแดงของผู้ป่วยที่มีภาวะจางการขาดธาตุเหล็กจะมีขนาดเล็ก ติดสีจาง serum feritin น้อยกว่า 10 นาโนกรัม/ดล.
การซักประวัติ การตั้งครรภ์ของมารดา ประวัติการคลอดชนิดของนมและอาหารเสริม
การรักษา
การให้เหล็กโดยการกิน (Ferrous sulfate) ให้วันละ 3 ครั้งระหว่างมื้ออาหาร
แก้ไขปัญหาที่เป็นสาเหตุ เช่น การให้ยาถ่ายพยาธิ
การให้เลือด
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะ เฉื่อยชา
ชีพจรเร็ว ความดันโลหิตต่ำ
เหนื่อยง่าย : เนื่องจากหัวใจต้องทำงานเพิ่มขึ้นในการหมุนเวียนเลือดแดงที่มีน้อยลงให้นำออกซิเจนไปยังเซลล์ให้เพียงพอ
เบื่ออาหาร อาหารไม่ย่อย ท้องผูกหรือท้องเสีย
ซีด : สีผิวหนัง ฝ่ามือฝ่าเท้า ริมฝีปาก เหงือก เปลือกด้านใน
โรคภาวะจางจากไขกระดูกไม่ทำงาน (Aplastic Anemia)
อาการและอาการแสดง
Low RBC ซีด เหนื่อยง่าย ชีพจร
Low WBC ติดเชื้อง่าย มีไข้ เป็นแผลในปาก
Low Platelet เลือดออกในอวัยวะต่างๆ มีจุดจ้ำเลือดตามลำตัวและแขนขา เลือดออกตามไรฟัน เลือดออกทางเดินอาหาร ทำให้มีอาการอาเจียนหรือถ่ายเป็นเลือด
การวินิจฉัย
การเจาะไขกระดูก
การตรวจนับเม็ดเลือดทั้งสามชนิด
การรักษา
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
การรักษาด้วยฮอร์โมน
การรักษาด้วยยากดระบบ Immune
การรักษาตามอาการ
สาเหตุ
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นภายหลัง จากการทำลายของเนื้อเยื่อ stem cell ในไขกระดูกจากหลายสาเหตุ
การได้รับสารเคมีบ่อย,เกิดภายหลังการติดเชื้อ,เกิดภายหลังการได้รับรังสีการรักษาในขนาดสูง
ความผิดปกติแต่กำเนิด
โรคธาลัสซีเมีย
ชนิดของโรค
กลุ่มอาการรุนแรงปานกลาง ได้แก่ แรกเกิดปกติ จะเริ่มมีอาการตั้งแต่ภายในขวบแรก อาการสำคัญ ซีด อ่อนเพลีย ตาเหลือง ท้องป่อง
กลุ่มอาการรุนแรงน้อย เช่น ซีด และเหลืองเล็กน้อย
กลุ่มอาการรุนแรงมาก ได้แก่ ฮีโมโกบินบาร์ทโฮดรอพส์ ฟิทัลลืสเ)้นชนิดที่รุนแรงที่สุด ส่วนใหญ่เสียชีวิตในครรภ์มารดาหรือหลังคลอดไม่กี่ชั่วโมง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจนับจำนวนและดูลักษณะของเม็ดเลือดแดง
การซักประวัติ
การรักษา
การรักษาทั่วไป
การให้เลืด
การให้ยาขับธาตุเหล็ก
การผ่าตัดม้าม
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
การให้คำปรึกษาทางพันธุศาสตร์
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากเม็ดเลือดแดงแตก
ภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากภาวะเหล็กเกิน
โรคภาวะเกล็ดเลือดต่ำโดยไม่ทราบสาเหตุ (Indiopathic Thrombocytopenic Purrura : ITP)
อาการและอาการแสดง
เลือดกำเดา
เลือดออกในเยื่อบุต่างๆ
ผู้ป่วยจะไม่มีอาการผิดปกติอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น ตับ ม้าม ต่อมน้ำเหลืองไม่โตแต่อาจตรวจอาการซีด
การรักษา
ส่วนใหญ่โรคหายได้เอง 70-80% ภายในเวลา 1-2 เดือน และจะไม่กลับเป็นซ้ำอีก บางรายที่ไม่หาย หรือมีเลือดออกใต้ผิวหนังหลายแห่ง หรือมีจุดเลือดออกในปากควรให้กิน prednisolone เพื่อให้ผนังของหลอดเลือดแข็งแรงขึ้นในรายที่เกล็ดเลือดเพิ่มขึ้นก็ค่อยๆ ลดขนาดของยาลงจนหยุดยา
สาเหตุ
การสร้างเกล็ดเลือดลดลง เนื่องจากโรคของไขกระดูกเอง
เกล็ดเลือดถูกทำลายมากกว่าปกติ
เกล็ดเลิอดถูกใช้ไปมากกว่าปกติ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ฮีโมฟีเลีย (Hemophilia)
สาเหตุ
ฮีโมฟีเลีย A พร่องแฟคเตอร์ 8 พบได้บ่อยที่สุด
ฮีโมฟีเลีย B พร่องแฟคเตอร์ 9 พบได้ประมาณ 10-15%
ฮีโมฟีเลีย C พร่องแฟคเตอร์ 11 พบได้ประมาณ 5%
การดูแล
ห้ามเลือดและลดการมีเลือดออก
ถ้าเลือดออกในข้อให้ใช้ผ้ายืดพันไว้และพักข้อ
ให้ FFP หรือ Cryoprecipitate
เมื่อเลือดหยุดออกเริ่มให้เคลื่อนไหวเพื่อป้องกันข้อติด
คำแนะนำสำหรับผู้ปกครองในการดูแลเด็กโรค Hemophilia
การพาเด็กรับวัคซีน ให้ใช้เข็มเล็กสุด กดนาน 5-10 นาที
การดูแลสุขภาพฟันไม่ให้ฟันผุ หลีกเลี่ยงการใช้แปรงสีฟันที่มีขนแปรงแข็ง
การป้องกันอุบัติเหตุ
หลีกเลี่ยงกีฬาที่กระทบกระแทก
มีบัตรประจำตัวติดตัวเด็กตลอดเวลา ชื่อระบุโรคที่เป็น
ไม่ให้ผู้ป่วยอ้วน หรือน้ำหนักมากเกินไป
โรคเลือดออกจากการมี Prothrombin ต่ำ (APCD)
อาการและอาการแสดง
มีจ้ำเขียวตามตัว หรือเลือดหยุดยาก
อาการตับโต ในผู้ป่วยเด็กบางราย
อาการซีด
ในรายที่ไม่เสียชีวิตจากการมีเลือดในสมอง อาจมีอาการพิการทางสมองในระยะต่อมา
มีเลือดออกในสมอง ทางเดินอาหาร ผิวหนัง อาการมักเกิดเฉียบพลัน
สาเหตุ
ทารกไม่ได้รับวิตามิน เค เมื่อแรกเกิด
การได้รับอาหารเสริมที่ไม่ถูกต้อง
ทารกแรกเกิดมีวิตามินเค ในเลือดน้อยมาก
การรักษา
ให้ Fresh Frozen Plasma ถ้าผู้ป่วยมีอาการเลือดออกรุนแรง เพื่อเป็นการเพิ่มโปรทรอมบิน คอมเพล็กซ์
ให้เม็ดเลือดแดงเข้มข้น (Packed Red Cell) ถ้าซีดมาก
เมื่อได้รับการวินิจฉัยแล้ว ให้วิตามินเค 2-5 มิลลิกรัมเข้าทางหลอดเลือดดำ เป็นเวลา 1-3
ภาวะพร่องเอนไซม์ G-6-P-D (G-6-P-D Deficiency)
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะดำเป็นโค้ก
ภาวะไตวาย
ซีดลงอย่างรวดเร็ว
ตัวเหลืองภายหลังคลอดในทารกแรกเกิดที่มีภาวะพร่องเอ็นไซม์ G-6-P-D
ภาวะซีดเรื้อรัง
การรักษา
หาสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการซีด
การรักษาภาวะแทรกซ้อน
ให้เลือด ถ้ามีอาการซีดมากๆ
สาเหตุ
สารเคมี
อาหาร
ยา
การติดเชื้อ ไทฟอยด์ ปอดอักเสบ ตับอักเสบ ไข้หวัดมาลาเรีย
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งและเซลล์เจริญเติบโตผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันในเด็ก
สาเหตุ
ยา
พันธุกรรม
รังสี
ติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
CBC : พบ Hct ต่ำ , เกร็ดเลือดต่ำ เม็ดเลือดขาวมักสูงเป็นหมื่นหรือแสนตัวต่อ ลบ.มม
เจาะไขกระดูก
ไข้ ซีด เลือดอก ปวดข้อหรือปวดกระดูก ตับ ม้ามและต่อมน้ำเหลืองมีขนาดโต มีก้อนที่คอหรือในท้อง
มะเร็งเม็ดขาวชนิดเฉียบพลัน สามารถจำแนกได้เป็น 2 ชนิดหลัก คือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันชนิดมัยอิลอยด์ พบได้บ่อยกว่าชนิดลิมฟอยด์ สามารถพบได้ทุกช่วงอายุ แต่มักจะพบในผู้ป่วยสูงอายุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมฟอยด์ มักพบในผู้ป่วยอายุน้อยหรือผู้สูงอายุ อาจะพบภาวะต่อมน้ำเหลืองโตร่วมด้วยได้ มักตอบสนองต่อการรักษาดีกว่า
การรักษา
การแก้ไขภาวะซีด ภาวะติดเชื้อ
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
การให้เคมีบำบัด
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
อาการและอาการแสดง
ตับม้ามโต
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
ต่อมน้ำเหลืองโต
Lymphoma จะถูกแบ่งออกเป็นสองชนิด
Hodgkin's Lymphoma
โรค Hodgkin's disease จะเกิดจาก B cell ที่ผิดปกติ ซึ่งอาจเป็น B หรือ T cells และ สามารถแยกจากกันได้โดยตัวบ่งชี้บ่งทางพันธุกรรม
การรักษา
ผสมผสานระหว่างเคมีบำบัด รังสีรักษา และการปลูกถ่ายไขกระดูก
ยาเคมีบำบัดที่ได้ผลดี : Cyclophoshamide, Vincristine, เพรดนิโซโลน
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง แต่อาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัส การได้รับยากดภูมิคุ้มกันเป็นระยะนานๆ
มะเร็งที่ไต
อาการและอาการแสดง
เบื่ออาหาร ปัสสาวะเป็นเลือด และมีอาการซีด
ความดันโลหิตสูง
คลำพบก้อนในท้อง
การรักษา
รังสีรักษา ที่บริเวณตำแหน่งของโรค
ให้เคมีบำบัด
ผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออก
ห้ามคลำท้อง
มะเร็งเนื้อเยื่อประสาท
อาการและอาการแสดง
ถ้ามีการแพร่กระจายของมะเร็งอาจมีตาโปน
เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลง ซีด อ่อนเพลีย ปวดกระดูก
มักพบที่บริเวณต่อมหมวกไตชั้นเมดัลลา มีอาการท้องโตหรือคลำก้อนได้ในท้อง
การวินิจฉัย
การเจาะไขกระดูก อาจพบเซลล์มะเร็ง
การตรวจเลือด อาจพบภาวะซีด เกล็ดเลือดต่ำ หากมีการกระจายของโรคเข้าไปใไขกระดูก
Ultrasound, CT abdomen
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่นอน แต่เนื่องจากเป็นเนื้องอกที่พบมากในวัยเด็กและมีรายงานพบว่ามีผู้ป่วยหลายคนในครอบครัวเดียวกันจึงมีข้อสันนิษฐานว่าอาจมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้
การรักษา
การให้รังสีรักษา หลังผ่าตัด
การให้ยาเคมีบำบัด
การผ่าตัด
การปลูกถ่ายไขกระดูก