Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.1 การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
บทที่ 4.1 การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
[3] ระบบการตวงวัดยา
{3.2} ระบบเมตริก ถ้ำเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
1 กิโลกรัม = 1000 กรัม (gm)
1 กรัม = 1000 มิลลิกรัม (mg)
1 ลิตร = 1000 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 มิลลิกรัม = 1000 ไมโครกรัม (mcg)
1กรัม = 1 มิลลิลิตร (ซีซี)
{3.3} ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน มีหน่วยที่ใช้เป็น หยด ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว สามารถเทียบได้กับระบบเมตริก
1 ช้อนชา = 5 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนหวาน = 8 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
15 หยด = 1 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ช้อนโต๊ะ = 15 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 ถ้วยแก้ว = 240 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1ถ้วยชา = 180 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
{3.1} ระบบอโพทีคารี ถ้ำเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน
3 สครูเปิล (scruple) = 1 แดรม (dram)
8 แดรม (dram) = 1 ออนซ์ (ounce)
20 เกรน (grain) = 1 สครูเปิล (scruple)
12 ออนซ์ (ounce) = 1 ปอนด์ (pound)
[1] วัตถุประสงค์ของการให้ยา
{1.2} เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภำพ เช่น ฉีดวัคซีนบีซีจี เพื่อป้องกันวัณโรค ให้วิตามินเพื่อบำรุงร่างกำยให้แข็งแรง
{1.3} เพื่อกำรตรวจวิเคราะห์โรค เช่น ให้กลืนแป้งเบเรี่ยม ซัลเฟต แล้วเอ็กซเรย์เพื่อตรวจดูสภาพของกระเพาะอาหารและลำไส้
{1.1} เพื่อการรักษา เป็นการให้ยาเพื่อรักษาตามสาเหตุของโรค หรือช่วยให้ผู้ป่วยบรรเทา ทุเลา และหายจากอาการหรือโรคที่เป็นอยู่
2) รักษาเฉพาะโรค
3) ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
1) รักษาตามอาการ
4) ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
[6] รูปแบบการบริหารยา
{6.4} Right time (ถูกเวลา)
6.4.2)) การให้ยาหลังอาหารเป้าหมายเพื่อให้ยาได้สัมผัสกับอาหารเพื่อช่วยเรื่องการดูดซึม
6.4.3)) การให้ยาช่วงใดก็ได้คืออาหารไม่มีผลต่อการดูดซึมดังนั้นจึงให้ช่วงเวลาใดก็ได้
6.4.1)) การให้ยาก่อนอาหาร เพื่อไม่ต้องการให้ยาได้สัมผัสกับอาหาร
6.4.4)) การให้แบบกำหนดเวลาหรือให้เฉพาะกับอาหารที่เฉพาะ
{6.5} Right route (ถูกวิถีทาง)
{6.3} Right dose (ถูกขนาด)
{6.6} Right technique (ถูกเทคนิค)
{6.2} Right drug (ถูกยา)
{6.7} Right documentation (ถูกการบันทึก)
{6.1} Right patient/client (ถูกคน)
{6.8} Right to refuse คือกำรตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจำกผู้ป่วยในการจัดการยา
{6.9} Right History and assessment คือการซักประวัติ และการประเมินอาการก่อน-หลังให้ยา
{6.10} Right Drug-Drug Interaction and Evaluation คือการที่จะต้องให้ยาร่วมกัน
{6.11} Right to Education and Information คือก่อนที่พยาบาลจะให้ยำผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้ง
[7] การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
{7.1} การให้ยาทางปาก หมายถึง การให้ยาที่สามารถรับประทานทางปากได้ ซึ่งอาจเป็นชนิดยาเม็ด ยาแคปซูล ยาผง หรือยาน้ำ นับว่าเป็นวิธีที่ง่าย สะดวก และปลอดภัยที่สุด
การให้ยาเม็ดในเวลาเดียวกัน สามารถรวมกันได้
ยาชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
ยาที่ระคายเคืองทางเดินอาหารให้กินหลังอาหารหรือนม
ยาจิบแก้ไอควรให้ภายหลังรับประทานยาเม็ดแล้วเพื่อให้ยาค้างอยู่ที่คอไม่ถูกน้ำล้างออก
ยาลดกรดในกระเพาะอาหารควรให้อันดับสุดท้ายเพื่อช่วยลดอาการระคายเคือง
{7.2} การให้ยาเฉพาะที่ เป็นกำรให้ยาภายนอกเฉพาะตำแหน่ง เพื่อให้ยาออกฤทธิ์เฉพำะที่ ได้แก่ กำรให้ยำโดยผ่านทางเยื่อเมือกของอวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง เพื่อรักษาหรือบรรเทาอาการเฉพาะที่
7.2.5)) การเหน็บยา เป็นการให้ยาที่มีลักษณะเป็นเม็ด เข้าทางเยื่อบุตามอวัยวะต่ำง ๆ
7.2.4)) การหยอดยาจมูก (Nose instillation) ให้ผู้ป่วยเงยหน้าขึ้น และพยาบาลยกปีกจมูก ผู้ป่วยข้างที่จะหยอดยาขึ้นเบาๆ แล้วหยดยาผ่านทางรูจมูกห่างประมาณ 1-2 นิ้ว
7.2.3)) การให้ยาทางหู (Ear instillation) เป็นการหยอดยาเข้าไปในช่องหูชั้นนอก ยาที่ใช้เป็นยาน้ำ ออกฤทธิ์เฉพาะเยื่อบุในช่องหู มักเป็นยาชาหรือยาฆ่าเชื้อโรคเฉพาะที่
7.2.1)) การสูดดม (Inhalation) เป็นการให้ยาในรูปของก๊าซ (Gas) ไอระเหย (Vapor) หรือละออง (Aerosol) สามารถให้โดยการพ่นยำเข้าสู่ทำงเดินหายใจ
7.2.2)) การให้ยาทางตา (Eye instillation) เนื่องจากดวงตาเป็นเนื้อเยื่อที่บอบบางมาก ติดเชื้อได้ง่าย
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับ
คำสั่งการให้ยา
{4.1} ความถี่การให้ยา
tid วันละ 3 ครั้ง
qid วันละ 4 ครั้ง
bid วันละ 2 ครั้ง
q 6 hrs ทุก 6 ชั่วโมง
OD วันละ 1 ครั้ง
{4.3} วิถีทางการให้ยา
M = เข้ากล้ามเนื้อ
SC = เข้าชั้นใต้ผิวหนัง
V = เข้าหลอดเลือดดำ
ID = เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
subling = อมใต้ลิ้น
inhal = ทางสูดดม
O = รับประทำนทางปาก
Supp = เหน็บ / สอด
Nebul = พ่นให้สูดดม
instill = หยอด
{4.2} เวลาการให้ยา
pc = หลังอาหาร
hs = ก่อนนอน
prn = เมื่อจำเป็น
stat = ทันทีทันใด
ac = ก่อนอาหาร
[8] ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
{8.1} ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescription error) คือ อาจเกิดจากแพทย์เขียนผิดพลาด หรือไม่ชัดเจนรวมถึงการเลือกใช้ยาผิด
{8.2} ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา (Transcribing error) คือ การคัดลอกคำสั่งใช้ยาจากคำสั่งใช้ยาต้นฉบับที่ผู้สั่งใช้ยาเขียน
{8.3} ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing Error) คือ การจ่ายยาของกลุ่มงานเภสัชกรรม ที่จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคำสั่งใช้ยา
{8.4} ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration error) คือ คำสั่งใช้ยาของผู้สั่งใช้ยาที่เขียนไว้ในใบบันทึกประวัติการรักษาผู้ป่วยหรือ การทำให้ผู้ป่วยได้รับยาผิดไปจากความตั้งใจในกำรสั่งยาของผู้สั่งใช้ยา
[5] คำสั่งแพทย์
{5.2} คำสั่งใช้ภายในวันเดียว
(Single order of order for one day)
{5.3} คำสั่งที่ต้องให้ทันที (Stat order)
{5.1} คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป
(Standing order / order for continuous)
{5.4} คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น (prn order)
[2] ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
{2.1} อายุและน้ำหนักตัว
{2.2} เพศ ผู้ชายมีขนาดตัวใหญ่กว่าผู้หญิง
{2.3} กรรมพันธุ์
{2.4} ภาวะจิตใจ
{2.5} ภาวะสุขภาพ
{2.6} ทางที่ให้ยา
{2.7} เวลาที่ให้ยา
{2.8} สิ่งแวดล้อม
[9] บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
{9.1} เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาในครั้งแรก พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์ พร้อมกับเช็คยาและจำนวนให้ตรงตามฉลากยา หากไม่ตรงให้แจ้งเจ้าหน้าที่ทันที
{9.2} การซักประวัติ จะถามเรื่องการแพ้ยาทุกครั้งดูสติ๊กเกอร์สีแสดงแพ้ยาที่ติดอยู่ขอบ OPD card และดูรายละเอียดใน OPD card ร่วมด้วยทุกครั้ง
{9.3} เมื่อมีคำสั่งใหม่ หัวหน้ำเวร ลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
{9.4} การจัดยาให้ระมัดระวังในกำรจัดยาเนื่องจากความผิดพลาดด้านบุคคลโดยเฉพาะยาน้ำ
{9.5} เวรบ่าย พยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบ MAR กับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกัน และดูยาในช่องลิ้นชักยาอีกครั้ง
{9.7} กรณีคำสั่งสารน้ำ+ยา B co 2 ml ให้เขียนคำว่า +ยา B co 2 ml ด้วยปากกาเมจิก อักษรตัวใหญ่บนป้ายสติ๊กเกอร์ของสารน้ำให้ชัดเจนเพื่อสังเกตได้ง่าย
{9.6} กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้าย NPO และเขียนระบุว่า NPO เพื่อผ่าตัดหรือเจาะเลือดเช้า ให้อธิบายและแนะนำผู้ป่วยและญาติทุกครั้ง
{9.8} การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้องแล้ว ในการจัดยาที่เป็นคำสั่งใหม่
{9.9} มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบซ้ำก่อนให้ยาให้ตรวจสอบ 100% เช็คดูตามใบMAR ทุกครั้ง
{9.10} การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยาและให้พยาบาล
ตรวจดูยาในลิ้นชักของผู้ป่วยทุกเตียงจนเป็นนิสัยและดูผู้ป่วยประจำเตียงว่ามีหรือไม่
{9.11} ให้ยึดหลัก 6R ตามที่กล่าวมาข้างต้น
[10] สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยา
อย่างสมเหตุสมผล
{10.4} บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
{10.2} สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจำเป็น (Consider the options)
{10.3} สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา โดยพิจารณาจากข้อมูลทางเลือกที่ถูกต้อง เหมาะสมกับบริบทและเคารพในมุมมองของผู้ป่วย (Reach a shared decision)
{10.5} สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ (Provide information)
{10.1} สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาหรือมีความจำเป็นต้องใช้ยาในการรักษา (Assess the patient)
{10.6} สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้ (Monitor and review)
{10.7} สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม (Prescribe safely)
{10.8} สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ และเป็นไปตามหลักเวชจริยศาสตร์ (Prescribe professionally)
{10.9} สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่างต่อเนื่อง (Improve prescribing practice)
{10.10} สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Prescribe as part of a team)
[11] กระบวนการพยาบาลในการบริหารทางปากและยาเฉพาะที่
{11.2} การวินิจฉัยการพยาบาล เมื่อรวบรวมข้อมูลจากการประเมินสภาพได้ทั้งหมดแล้วนำมาจัดหมวดหมู่ข้อมูลที่เป็นปัญหา
{11.1} การประเมินสภาพ ก่อนให้ยาต้องหาข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้ป่วยและยาที่จะให้ผู้ป่วย ต้องทราบ
ข้อมูลเกี่ยวกับการแพ้ยา ภาวะขณะที่จะให้ยา
{11.3} การวางแผนการพยาบาล หลังจากได้ข้อมูลและปัญหาหรือข้อบ่งชี้ในกำรให้ยาแล้วทำการวางแผนหาวิธีการว่าจะให้ยาอย่างไร
{11.4} การปฏิบัติการพยาบาล เป็นกำรปฏิบัติการให้ยาตามแผนที่วางไว้ไปปฏิบัติ โดยยึดหลักความถูกต้อง 7 ประกำร
{11.5} การประเมินผล เนื่องจากยาที่ให้นอกจากจะมีผลทางการรักษา แล้วยังอาจทำให้เกิดปฏิกิริยาที่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยได้