Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาชีพ vital signs assessment, นางสาวดวงฤทัย ใจบูญ…
การประเมินสัญญาชีพ vital signs assessment
อุณหภูมิ (Temperature)
ชนิดของอุณหภูมิ
อุณหภูมิภายใน (core body temperature)
อุณหภูมิ deep
tissues ของร่างกาย
อุณหภูมิบริเวณผิว (Surface temperature)
อุณหภูมิที่ผิวหนัง,
subcutaneous tissues และ fat
ระดับความรุนแรงของไข้
3 ไข้สูง (high grade fever)
39.5 – 40.5
องศาเซนเซียส
4 ไข้สูงมาก (hyperpyrexia)
เกิน 40.5 องศาเซนเซียส
2 ไข้ปานกลาง (moderate fever)
38.4 – 39.4
องศาเซนเซียส
1 ไข้ต่ำ (low-grade fever)
37.5 – 38.3 องศาเซนเซียส
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิภายในร่างกาย
อายุ
ช่วงเวลาระหว่างวัน
ฮอร์โมน
ความเครียด
สิ่งแวดล้อม
การออกกำลังกาย
การติดเชื้อ
ภาวะโภชนาการ
9.การรับประทานเครื่องดื่มร้อนหรือน้ำเย็น
ชนิดปรอท
ชนิดที่วัดทางปาก (oral)
ชนิดที่วัดทางทวารหนัก
วัดทางหู (ear)
แผ่นวัดที่หน้าผาก
(temperature strip)
ภาวะผิดปกติของอุณหภูมิร่างกาย
ภาวะอุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ / ไข้ (Fever, pyrexia)
ภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำกว่าปกติ (Hypothermia) เป็นภาวะที่มีอุณหภูมิร่างกายลดลงต่ำกว่าระดับปกติ
ชีพจร (Pulse)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อชีพจร
อายุ
การออกกำลังกาย
เพศ หลังวัยรุ่น
ไข้
ยา ยาบางชนิด
Hemorrhage
ความเครียด
ท่าทาง
สิ่งที่ต้องสังเกตในการจับชีพจร
จังหวะชีพจร
ความยืดหยุ่นของผนังของหลอดเลือด
อัตราการเต้นของชีพจร
ปริมาตรแรงชีพจร
อัตราการเต้นของชีพจร
อยู่ในช่วง60-120 ครั้ง/นาที
ตำแหน่งของการจับจับชีพจร
Temporal
Carotid
Brachial
Radial
Femoral
Popliteal
Dorsalis pedis
Posterior tibial
วิธีจับชีพจร
อย่าใช้นิ้วหัวแม่มือในการจับ
ใช้นิ้วชี้ กลาง นาง วางตรงตำแหน่งเส้นเลือดแดงกดแรงพอประมาณ
อย่ายกแขนผู้ป่วยขึ้นจับ
นับการเต้นชองชีพจรให้เต็ม 1 นาที
พร้อมกับสังเกตจังหวะการเต้น
ไม่ควรวัดชีพจรหลังผู้ป่วยมีกิจกรรม
ควรให้พัก 5-10 นาท
นางสาวดวงฤทัย ใจบูญ รหัสนักศึกษา6203400086