Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง Acquired Heart Disease :<3:, นางสาวปุญญิศา …
โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง Acquired Heart Disease :<3:
Rheumatic heart disease :fire:
:check:
จะอาการไข้สูง 38.4-40 C ปวดบวมอักเสบที่ข้อ ผืนแดงที่ผิวหนัง ตุ่มแข็งที่ชั้นใต้ผิวหนัง
พบมากในอายุ 5- 15 ปี
ภายหลังที่เป็นไข้ Rheumatic จะมีการอักเสบของหัวใจทุกชั้น รวมทั้ง เยื่อบุหัวใจและลิ้นหัวใจ ในรายที่เป็น ไข้Rheumatic ซ้ำๆหลายๆครั้งจะ ทําให้ลิ้นหัวใจถูกทําลายมากขึ้น
เป็นแล้วรักษายาก และจะเหลือรอยโรคที่หัวใจ ต้องได้รับยาปฏิชีวนะ เพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำนานหลายปี หรือตลอดชีวิต
การวินิจฉัย :tada:
อาการทางประสาท (Chorea)
ข้ออักเสบ (Polyarthritis)
ผื่นตามผิวหนัง (Erythema marginatum)
ตุ่มนูนใต้ผิวหนัง (Subcutaneous nodules)
หัวใจอักเสบCarditis
ลักษณะอาการสําคัญ หรือ อาการหลัก :lock:
:green_cross:
อาการน้อยหรืออาการรอง :unlock:
ไข้ต่ำๆ
ปวดข้อ Polyarthralgia
เลือดกําเดาไหล
ปวดท้อง
ปอดบวม
อาการอื่นๆ เช่น รู้สึกไม่สบายเจ็บหน้าอก ซีด
ASO, ESR, C-Reactive Protein
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory tests) :tada:
การตรวจว่ามีการติดเชือß-hemolytic streptococcus group A
การตรวจหา Antistreptolysin O (ASO) titer
การตรวจว่ามีการอักเสบ
Erythrocyte sedimentation rate (ESR) และ C-reactive protein test (CRP)
การตรวจที่ช่วยสนับสนุนการวินิจฉัยอาการทางคลินิก
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ(Electrocardiogram) PR interval ที่ยาวกว่าปกติ (prolonged PR interval หรือfirst degree AV block)
Chest X ray – อาจมี pulmonary congestion
การรักษาทางยา :tada:
ให้ยาPenicillin G (Benzyl Penicillin) เป็นการรักษาเพื่อทําลายเชื้อ Beta - Hemolytic Streptococcal Group A
ให้Steroid: Prednisolone หรือAspirin เพื่อลดการอักเสบ ของกล้ามเนื้อหัวใจ
การป้องกัน :tada:
การป้องกันการเกิดโรคซ้ำการป้องกันการติดเชื้อ สเตรปโตค็อกคัสด้วยการให้ยาปฏิชีวนะ อย่างสม่ำเสมอ
Kawasaki Syndrome :silhouette:
:check:
เป็นโรคที่มีการอักเสบของหลอดเลือดแดงขนาดเล็กโดยไม่ทราบสาเหตุ
พบในเด็กอายุต่ำกว่า 4 ปี
อาการเริ่มจากมีไข้สูง 5 วันโดยที่หาสาเหตุการติดเชื้อไม่พบ ร่วมกับมีอาการ ตาแดง ปากแดง ลิ้นแดง ริมฝี ปากแดงแห้ง ต่อมนําเหลืองที่คอโต มือเท้าบวม และมีผื่นขึ้นตามตัว
ระยะเฉียบพลันอาจมีกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบรุนแรงถึงชีวิต
ภาวะแทรกซ้อนทีสําคัญคือ การโป่งพองของเส้นเลือดที่เลี้ยง กล้ามเนื้อหัวใจ ทําให้เกิดการแตก หรืออุดตันของหลอดเลือด หัวใจ
ในระยะที่มีหลอดเลือดแดงผิดปกติแล้วต้องใช้ยาป้องกันไม่ให้ หลอดเลือดหัวใจอุดตัน
หลักการวินิจฉัย :smiley:
อาการไข้มักจะเป็นไข้สูงอยู่นาน 1-2 สัปดาห์
ฝ่ามือฝ่าเท้าบวมแดง ไม่เจ็บ มีการลอกของผิวหนังบริเวณ
ปลายนิ้วมือและนิ้วเท้า(ประมาณ 10-20 วันหลังมีไข้) มีผื่นภายใน 5 วันแรก ที่ลําตัวหน้าแขน ขา ผิวหนังแดง และลอกที่บริเวณก้น (Perineum) เกิดหลังมีไข้1-2 วัน และผื่นอยู่นาน 1-2 สัปดาห์
ตาแดงทั้ง 2 ข้าง ไม่เจ็บ ไม่มีขี้ตา เป็นหลังมีไข้ 1-2 วัน และเป็นอยู่นานประมาณ 1-2 สัปดาห์
ริมฝีปากแดง แตก ลิ้นคล้ายสตรอเบอรี่(Strawberry tongue) เยื้อบุช่องปากแดง
ต่อมน้ำเหลืองที่คอโตข้างเดียว กดไม่เจ็บ การวินิจฉัยโรคทางคลินิกจะต้องมีไข้ร่วมกับอาการอื่นๆอีก4 ข้อ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ :smiley:
เกล็ดเลือดสูง ซึ่งมักพบภายหลัง สัปดาห์แรกของโรค
Neutrophilia ซีดเล็กน้อย
อัลมูบินในเลือดต่ำ
สาเหตุของการเสียชีวิต :smiley:
กล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือด
เด็กโตอาจมีอาการเจ็บหน้าอก อาการมักเกิดขณะพักหรือนอนหลับ
ร้อง หอบ อาเจียน ช็อค
Myocarditis :silhouettes:
:check:
เกิดจากการติดเชื้อไวรัส
ซึ่งเชื้อไวรัสทุกชนิดทําให้เกิด อาการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจได้
เชื้อไวรัสที่พบบ่อยว่า เป็นสาเหตุของโรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
คือ เชื้อ Coxsakies Virus
เด็กจะมีอาการติดเชื้อไวรัสมาก่อน เป็นไข้มีผืนขึ้น อ่อนเพลีย อาจมีอาการหอบ หัวใจเต้นเร็วและหัวใจวาย
นางสาวปุญญิศา วงศ์กุนา เลขที่11 ห้อง 3B