Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 การพยาบาลอนามัยโรงเรียน - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10
การพยาบาลอนามัยโรงเรียน
การทดสอบการได้ยิน
ตรวจด้วยส้อมเสียงระดับ 512 เฮิรตซ์ หรือทดสอบโดยให้ผู้ถูกตรวจยืนหันหลังจากผู้ตรวจ 5 ฟุตให้ผู้ตรวจเรียกชื่อหรือให้ผู้ถูกตัวทำตามคำสั่งด้วยเสียงดังปกติถ้าผู้ถูกตรวจขานต่อหรือทำตามคำสั่งได้แสดงว่ามีการได้ยินปกติการทดสอบอย่างนี้ต้องกระทำในห้องที่เงียบและเรียกนักเรียนเข้ามาทดสอบทีละคน
เครื่องตรวจหูที่สามารถตรวจการได้ยินที่ได้ผลแน่นอนคือ Audiometre ซึ่งจะต้องไปรับการตรวจที่โรงพยาบาลผลการตรวจหูทำให้สามารถให้คำแนะนำแก่ครูในการจัดที่นั่งแก่นักเรียนที่มีปัญหา
ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ถูกกันเบาๆหน้าใบหูห่างจากหูประมาณ 1 นิ้วทดสอบทีละข้างตามด้วยการกระซิบข้างหูและให้เด็กพูดตาม (Force whispered voice)
การตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน
โรคและความผิดปกติของช่องปากที่เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขในเด็กวัยเรียนมี 2 ชนิดได้แก่
โรคฟันผุ
โรคปริทันต์หรือโรคเหงือกอักเสบ
การให้ภูมิคุ้มกันในงานอนามัยโรงเรียน
2.นักเรียนชั้นป.6
ฉีด DT 0.5 ml. ทาง intramuscular ให้ 1 ครั้ง
1.นักเรียนชั้นป.1
หยอด OPV ฉีด DTP 0.5 ml. ทาง intramuscular
กรณีที่ไม่เคยได้รับ DTP และ OPV 2 มาก่อนให้ DTP และ OPV 2 ครั้งห่างกัน 2 เดือนและติดตามให้อีก 1 ครั้งในปีถัดไป (ป.2)
เคยมีประวัติได้รับ DTP และ OPV มาแล้ว 1 ครั้งให้ดีทีพีและ OPV อีก 1 ครั้งและติดตามให้อีก 1 ครั้งในปีถัดไป(ป.2)
เคยมีประวัติได้รับ DTP และ OPV มาแล้ว 2 ครั้งให้ดีทีพีและ OPV อีก 1 ครั้ง
เคยมีประวัติได้รับ DTP และ OPV ครบ 3-4 ครั้งแต่ครั้งสุดท้ายนานเกิน 5 ครั้งให้ดีจีพีและ OPV อีก 1 ครั้ง
เคยมีประวัติได้รับ DTP และ OPV ครบ 5 ครั้งไม่ต้องให้วัคซีนอีก
ฉีดวัคซีน BCG 0.1 ml. intradermal ให้ 1 ครั้งกรณีที่ไม่มีประวัติการได้รับวัคซีนหรือไม่ได้พบแผลเป็น BCG
การบันทึกสุขภาพนักเรียน
การบันทึกสุขภาพนักเรียนทางโรงเรียนจะต้องจัดให้มีบัตรบันทึกประจำตัวนักเรียนที่เรียกว่า สศ.3 (สามัญศึกษา 3) หรือสมุดบันทึกสุขภาพนักเรียนไว้ประจำตัวนักเรียนทุกคนตั้งแต่เริ่มเข้าเรียนชั้นป.1 และใช้ได้ตลอดระยะเวลาการศึกษา
มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้บันทึกประวัติทั่วไป
การเจริญเติบโต
การบริการที่นักเรียนได้รับจากการเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเช่นการตรวจสุขภาพความผิดปกติเกี่ยวกับสุขภาพการรักษาพยาบาลการติดตามผลการรักษาและการสร้างโรคภูมิคุ้มกัน
ประวัติการเจ็บป่วย
การให้สุขศึกษา (Health education)
ประสบการณ์ทั้งมวลทางด้านสุขภาพที่ทำให้บุคคลเกิดความรู้เจตคติการปฏิบัติที่ดีและถูกต้องต่อสุขภาพของตนเองและชุมชนทั้งยังผลให้บุคคลและชุมชนมีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ชนิดของการสอนสุขศึกษา
2.การสอนเป็นกลุ่ม
3.การจัดนิทรรศการ
1.การสอนเป็นรายบุคคล
การสอนสุขศึกษาในโรงเรียน( School Health Education )
เป็นการตัดโอกาสและประสบการณ์การเรียนรู้ทางด้านสุขภาพอนามัยแก่นักเรียนโดยมีความเชื่อว่าโรงเรียนเป็นศูนย์กลางของประชาชนในวัยเด็กเด็กนักเรียนเป็นวัยที่เหมาะสมสำหรับการปลูกฝังความรู้ใหม่ๆทัศนคติที่ดีทางด้านสุขภาพอนามัยจนนำไปสู่การปฏิบัติที่ถูกต้องและเป็นตัวอย่างที่ดีของชุมชน
อนามัยสิ่งแวดล้อมหรือสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
แนวคิด : เป็นการจัดกิจกรรมต่างๆเพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยทางร่างกายของนักเรียนเลยจัดให้นักเรียนอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีปลอดภัยจากโรคติดต่อและอุบัติเหตุต่างๆทำให้เกิดสภาพจิตที่ดีแก่นักเรียนท่านจัดสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะมีหลักการหลายประการการพัฒนาให้ยึดหลักการของสุขาภิบาลในโรงเรียน
การประสานงานระหว่างสถานศึกษาและบ้าน (School and Home Relationship)
เป็นการสร้างความร่วมมือกันระหว่างบุคลากรในโครงการสุขภาพผู้ปกครองนักเรียนและประชาชนในชุมชนการร่วมมือช่วยการให้เด็กนักเรียนสภาพดีมีพฤติกรรมอนามัยที่ถูกต้องอย่างมีเหตุผลและข้อใดมีครูอนามัยโรงเรียนเป็นแกนนำในการดำเนินกิจกรรม
กิจกรรมของการสร้างสัมพันธ์ระหว่างบ้าน โรงเรียน ชุมชน
เชิญประชุมผู้เกี่ยวข้องกับงานอนามัยโรงเรียน
การเยี่ยมบ้านหรือหน่วยงานต่างๆในชุมชน
การให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและชุมชนเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
จัดตั้งคณะกรรมการโรงเรียน
จัดตั้งคณะกรรมการโรงเรียน
ประสานงานกับหน่วยงานในชุมชนที่ครูและนักเรียนร่วมทำกิจกรรมของท้องถิ่น
การติดต่อกับวิทยากรอุปกรณ์การสอนและบริการสุขภาพชุมชน
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข (2545)
ความหมายโรงเรียนที่มีความร่วมมือร่วมใจการพัฒนาพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพอย่างสม่ำเสมอเพื่อการมีสุขภาพที่ดีของทุกคนในโรงเรียน
องค์การอนามัยโลก(Who,1998)
ความหมาย : โรงเรียนที่มีขีดความสามารถแข็งแกร่งมั่นคงที่จะเป็นสถานที่ที่มีสุขภาพอนามัยที่ดีเพื่อการอาศัยศึกษาและทำงาน
องค์ประกอบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
7.โภชนาการอาหารปลอดภัย
8.ออกกำลังกายกีฬานันทนาการ
6.การสอนสุขศึกษาในโรงเรียน
9.การให้คำปรึกษาและการสนับสนุนทางสังคม
5.บริการอนามัยโรงเรียน
10.การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร
4.ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและชุมชน
3.อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
2.การบริการจัดการ
1.นโยบายของโรงเรียน
ขั้นตอนการดำเนินงานเพื่อเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
3.วิเคราะห์สถานการณ์
4.กำหนดจุดเริ่มต้นในการทำงาน
2.จัดตั้งคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน
5.จัดทำแผนปฏิบัติการ
1.สร้างความสนับสนุนของชุมชนและท้องถิ่นเพื่อให้เกิดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
6.ติดตามและประเมินผล
7.พัฒนาเครือข่ายระดับท้องถิ่น
จัดทำโดย นางสาวศิญาพร เถาวัลย์ราช รหัสนักศึกษา 611410009-8 นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3