Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การบริหารยา 4.1การบริหารยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
บทที่ 4 การบริหารยา
4.1การบริหารยาเฉพาะที่
3.ระบบการตวงวัดยํา
3.2 ระบบเมตริก
1กรัม*=1000มิลลิกรัม(mg)
1มิลลิกรัม*= 1000ไมโครกรัม (mcg)
1กิโลกรัม*=1000กรัม (gm)
1กรัม = มิลลิลิตร(ซี.ซี.)
1 ลิตร =1000 มิลลิลิตร(ซี.ซี.)
3.3 ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน
1ช้อนชา =*5มิลลิลิตร(ซี.ซี.)
1ช้อนหวาน = 8มิลลิลิตร(ซี.ซี.)
15หยด =*1 มิลลิลิตร(ซี.ซี.)
1ช้อนโต๊ะ =*15มิลลิลิตร(ซี.ซี.)
1ถ้วยชา =180มิลลิลิตร(ซี.ซี.)
1ถ้วยแก้ว = 240มิลลิลิตร(ซี.ซี.)
3.1 ระบบอโพทีคารี
3(scruple) = 1(dram)
8(dram) = 1(ounce)
20(grain) = 1(scruple)
12(ounce)= 1(pound)
รูปแบบการบริหารยา
5.Rightroute(ถูกวิถีทาง)คือการให้ยาถูกทาง
6.Right technique(ถูกเทคนิค)คือการให้ยาถูกตามวิธีการ
4.Right time(ถูกเวลา)คือการให้ยาถูกหรือตรงเวลา
7.Right documentation(ถูกการบันทึก)คือการบันทึกการให้ยาที่ถูกต้อง
3.Rightdose(ถูกขนาด)คือการให้ยาถูกขนาด
8.Right to refuseคือการตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจํากผู้ป่วย
2.Right drug(ถูกยา)คือการให้ยาถูกชนิด
9.Right History and assessmentคือการซักประวัติ
1.Right patient/client(ถูกคน)คือการให้ยาถูกคน
10.Right Drug-Drug Interaction and Evaluation คือกํารที่จะต้องให้ยําร่วมกันจะต้องดูก่อนว่ํายํานั้นสํามํารถให้ร่วมกันได้ไหม
Right to Education and Informationคือก่อนที่จะให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้งชื่อยา ทางที่จะให้ยา ผลการรักษา
8.ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
8.2ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา
(2)ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์
(3)ที่เภสัชกรรม
(1)ที่หอผู้ป่วย
8.3ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา
8.1ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา
(3)ผิดวิถีทาง
(4)ผิดความถี่
(2)สั่งยาผิดชนิด
(5)สั่งยาที่มีประวัติแพ้
(1)สั่งยาผิดขนาด
(6)ลายมือไม่ชัดเจน
8.4ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
(1)การให้ยาไม่ครบ
(2)การให้ยาผิดชนิด
(3)การให้ยาซึ่งผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง
(4)การให้ยาผู้ป่วยผิดคน
(5)การให้ยาผิดขนาด
(6)การให้ยาผิดวิถีทาง
(7)การให้ยาผิดเวลา
(8)การให้ยามากกว่าจำนวนครั้งที่สั่ง
(9)การให้ยาในอัตราเร็วที่ผิด
(10)การให้ยาผิดเทคนิค
(11)การให้ยาผิดรูปแบบยา
11.กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
3.การวางแผนการพยาบาล
วางแผนหาวิธีการว่าจะให้ยาอย่างไร ผู้ป่วยจึงจะได้ยาถูกต้อง ครบถ้วน
4.การปฏิบัติการพยาบาล
เป็นกํารปฏิบัติการให้ยาตามแผนที่วางไว้
2.การวินิจฉัยการพยาบาล
รวบรวมข้อมูลจัดหมวดหมู่แล้วประเมินในขั้นตอนแรกแล้วให้การวินิจฉัยพยําบําล
5.การประเมินผล
หลังจากให้แล้วต้องกลับมาตามผลทุกครั้ง เพื่อดูผลของยา
1.การประเมินสภาพ
1.3ประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.4การได้รับสารน้ำเพียงพอหรือไม่
1.2ประวัติการแพ้ยา
1.5ความรู้ความเข้าใจเรื่องยาที่ได้รับ
1.6การปฏิบัติตัวในการได้รับยา
1.1ประเมินดูว่าผู้ป่วยมีข้อห้ามในการให้ยาทางปากหรือไม่
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
1.2 เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
1.3 เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
1.1 เพื่อการรักษา
2)รักษาเฉพาะโรค
3)ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
1)รักษาตามอาการ
4)ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยํา
วิถีทางการให้ยา
ID/เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
subling/อมใต้ลิ้น
V/เข้าหลอดเลือดดำ
Inhal/ทางสูดดม
Nebul/พ่นให้สูดดม
Supp/เหน็บ / สอด
instill/หยอด
SC/เข้าชั้นใต้ผิวหนัง
M/เข้ากล้ามเนื้อ
O/รับประทานทางปาก
เวลาการให้ยา
h.s./hora somni/ก่อนนอน
p.r.n./pro re nataเมื่อจำเป็น
p.c./post cibum/หลังอาหาร
stat/statim/ทันทีทันใด
a.c./ante cibum/ก่อนอาหาร
ความถี่การให้ยา
tid/ter in die/วันละ 3 ครั้ง
qid/quarter in die/วันละ 4 ครั้ง
bid/bis in die/วันละ 2 ครั้ง
q 6 hrs/quaque 6 hora/ทุก6ชั่วโมง
OD/omni die/วันละ1 ครั้ง
7.การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
7.1การให้ยาทางปาก
การให้ยาที่สามารถรับประทานทางปากได้ ซึ่งอาจเป็นชนิดยาเม็ด ยาแคปซูล ยาผง หรือยาน้ำ นับว่าเป็นวิธีที่ง่าย สะดวก และปลอดภัยที่สุด
7.2การให้ยาเฉพาะที่
(5)การเหน็บยา
เป็นการให้ยาที่มีลักษณะเป็นเม็ดเข้าทางเยื่อบุตามอวัยวะต่ํางๆ เพื่อให้ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่
(4)การหยอดยาจมูก(Nose instillation)
ให้ผู้ป่วยเงยหน้าขึ้น และพยาบาลยกปีกจมูกผู้ป่วยข้างที่จะหยอดยาขึ้นเบาๆ แล้วหยดยําผ่านทางรูจมูกห่างประมาณ 1-2 นิ้ว
(3)การให้ยาทางหู(Ear instillation)
เป็นการหยอดยาเข้าไปในช่องหูชั้นนอก ยาที่ใช้เป็นยาน้ำ ออกฤทธิ์เฉพําะเยื่อบุในช่องหู
(2)การให้ยาทางตา(Eye instillation)
การใช้ยาบริเวณตาจึงต้องคำนึงถึงความสะอาดเป็นสำคัญ ยาที่ใช้กับตามีทั้งยาหยอดตา ป้ายตา และยาล้างตา วิธีใช้ยาหยอดตา
(1)การสูดดม (Inhalation)
เป็นการให้ยาในรูปของก๊าซ (Gas) ไอระเหย (Vapor) หรือละออง (Aerosol) สามารถให้โดยการพ่นยาเข้าสู่ทางเดินหายใจ
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
6.กรณีผู้ป่วยที่NPO ให้มีป้ายNPO และเขียนระบุว่าNPO เพื่อผ่าตัดหรือเจาะเลือดเช้า
7.กรณีคำสั่งให้เขียนด้วยปากกาเมจิกอักษรตัวใหญ่ให้ชัดเจนเพื่อสังเกตได้ง่าย
5.เวรบ่ายพยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบ MAR กับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกัน
8.การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้อง
4.การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยา
9.มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบคนละคนกันตรวจสอบช้ำก่อนให้ยา
3.เมื่อมีคำสั่งใหม่หัวหน้าเวรลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
10.การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยา
2.การซักประวัติจะถามเรื่องการแพ้ยาทุกครั้ง
11.ให้ยึดหลัก6R ตามที่กล่าวมาข้างต้น
1.เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาพยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
5.สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ
6.สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียง
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
7.สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
3.สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา
8.สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม
2.สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจำเป็น
9.สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่ํางต่อเนื่อง
1.สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา
10.สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ
คำสั่งแพทย์คำนวณขนาดยา
5.1 คำสั่งแพทย์
การเขียนคำสั่งแพทย์
คำสั่งใช้ภายในวันเดียว(Single order of order for one day)
คำสั่งที่ต้องให้ทันที(Statorder)
คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป(Standing order / order for continuous)
คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น(prn order)
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
ชื่อยา –ขนาด –จำนวน –ทางที่ให้ –ความถี่
5.2 คำนวณขนาดยา
ความเข้มข้นของยา(ในแต่ละส่วน)= ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี/ปริมาณยาที่มี
2.ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
2.4ภาวะจิตใจ
2.5ภาวะสุขภาพ
2.3กรรมพันธุ์
2.6ทางที่ให้ยา
2.2.เพศ
2.7เวลาที่ให้ยา
2.1อายุและน้ำหนักตัว
2.8สิ่งแวดล้อม