Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบทที่ 2 ไม้ก่อสร้างและเกณฑ์การออกแบบ Design of Timber and Steel…
สรุปบทที่ 2 ไม้ก่อสร้างและเกณฑ์การออกแบบ Design of Timber and Steel Structures
ชั้นคุณภาพของไม้แปรรูป
ไม้ก่อสร้างชั้น 2
ขนาดของตาไม้ให้ถือค่าเฉลี่ยของเส้นผ่าศูนย์กลางที่กว้างที่สุดและแคบที่สุด
รอยแตกร้าว ความกว้างของรอยแตกร้าว วัดที่ปลายไม้ตามแนวดิ่ง
มุมของเสี้ยนขวางต้องไม่ชันกว่า 1 ใน 15 กับแนวขอบไม้ทางยาว
กระพี้ ยอมให้มีได้สำหรับการก่อสร้างชั่วคราว
ไม้ก่อสร้างชั้น 1
มุมของเสั้ยนขวางต้องไม่ชันกว่า 1 ใน 20 กับขอบไม้ทางยาว
ยอมให้มีตำนิดได้เพียงครึ่งเดียวของไม้ก่อสร้างชั้น 2
ไม่ยอมให้ไม้มีตาหลุด ตาผุ
ไม้ก่อสร้างชั้น 3
ยอมให้มีตำนิดได้ถึงหนึ่งเท่าครึ่งของไม้ก่อสร้างชั้น 2
มุมของเสี้ยนขวางยอมให้ชันได้ถึง 1 ใน 12 กับขอบไม้ทางยาว
ไม้ด้อยคุณภาพ
เหมาะกับงานสำหรับสิ่งก่อสร้างชั่วคราว เช่น ค้ำยัน นั่งร้าน ไม้แบบ
เป็นไม้ที่มีคุณภาพต่ำกว่าไม้ก่อสร้างชั้น 3
ขนาดของไม้แปรรูป
ขนาดเดิม (nominal size) เรียกว่า ขนาด ''ใช้เรียก''
ขนาดไสแล้ว (dressed size)
ในต่างประเทศกำหนดว่า ถ้าไม้ของขนาดที่ ''ใช้เรียก'' ไม่เกินกว่า 6'' ให้คิดว่าไม้ที่แต่งไสเรียบร้อยแล้ว มีขนาดเล็กลงได้ไม่เกิน 3/8''
ขนาดที่ไสแล้วคือขนาดที่ มีแการตกแต่งและทำให้ไม้เล็กกว่าเดิม
ไม้ประกับ (Gluled-laminated Timber)
เป็นไม้ที่เกิดจาการนำไม้มาต่อกันหรือประกับกันเพื่อต้องการหน้าตัดไม้ให้ใหญ่ขึ้นโดยต่อยึดด้วยอุปกรณ์ยึดไม้เรียกไม้ที่ได้ว่า ''ไม้ประกอบ''
ข้อดีของไม้ประกับ
แข็งแรงกว่าไม้จริง
มีขนาดรูปร่างไม่จำกัด
สามารถควบคุมปริมาณความชื้นในไม้ได้
มีความทนไฟมากขึ้นและสามารถเลือกใช้ชนิดของไม้ได้
การประกับไม้ทำได้ 2 แบบ
ประกับทางตั้ง
เป็นการนำไม้กระดานมาวางเรียงชิดติดกัน
ประกับทางนอน (นิยมมากกว่า)
เป็นการนำไม้กระดานมาวางเรียงซ้อนกัน
การแปรรูปไม้
การเลื่อยสัมผัส (slash-cut)
ไม้แปรรูปที่ได้จะมีด้านกว้างขนานกับเส้นวงปี เรียกว่าไม้ผ่าแบบธรรมดา
ระนาบของการเลื่อยค่อนข้างตั้งฉากกับเส้นรัศมี
เป็นการเลื่อยผ่าขนานกับแกนของลำต้น
การเลื่อยขนาน (rift-cut)
เป็นการเลื่อยที่ผ่าขนานกับแกนของลำต้น
ไม้แปรรูปที่ได้จะมีด้านกว้างขนานกับเส้นรัศมี เรียกว่าไม้ผ่าสี่
ระนาบของการเลื่อยค่อนข้างขนานกับเส้นรัศมี
การออกแบบโครงสร้างไม้ใช้วิธีหน่วยแรงใช้งาน (ASD)
หน่วยแรงที่ยอมให้สำหรับไม้ก่อสร้าง (Allowable Stress : F)
ค่าของหน่วยแรงที่ยอมให้ ที่สำคัญสำหรับใช้ในการออกแบบโครงสร้างไม้คือ หน่วยแรงดัด หน่วยแรงดึงขนานเสี้ยน หน่วยแรงเฉือนขนานเสี้ยน หน่วยแรงอัดขนานเสี้ยน และ หน่วยแรงอัดตั้งฉากเสี้ยน หาได้จากค่าหน่วยแรงประลัย สูงสุดนั้นๆ ซึ่งมีค่า factor of safety ในการควบคุม
Impace load
เกิดจากน้ำหนักบรรทุกจนที่กระแทกหรือกระทำต่อโครงสร้างอย่างทันทีทันใด
น้ำหนักบรรทุก
น้ำหนักบรรทุกจร (Live load)เช่นน้ำหนักของผู้อยู่อาศัย,ลม,เครื่องเรือน
น้ำหนักบรรทุกคงที่ (Dead load) เช่นน้ำหนักของ คอนกรีต,เสา,คาน
หลักเกณฑ์การออบแบบด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งาน (ASD)
หน่วยแรงที่เกิดขึ้นจริงต้องไม่มากกว่าหน่วยแรงที่ยอมให้
ส่วนประกอบของหลังคา
คานไม้ (beam)
เสาไม้ (post)
ค้ำยัน (strut)
ตงไม้ (floor joist)
ขื่อ (tie beam)
พื้นไม้หรือไม้กระดาน (floor plank)
อะเส (girt)
สะพานหนู (tilting piece)
สะพานรับจันทัน (bridge)
อกไก่ (ridge)
ระแนง (roof batter)
แป (purlin)
ดั้ง (king post)
ขื่อคัด (collar beam)
จันทันใหญ่ (principle rafter)
ตะเฆ่ราง (valley rafter)
ตะเฆ่สัน (hip rafter)
จันทันพราง (common rafter)
การรักษาเนื้อไม้
ละลายในน้ำมัน
ละลายในน้ำ
โครเมเตดคอปเปอร์อาร์ซีเนต (chormated copper arssenate)
ครีโอโสต (creosote) , โซลิกนัม (solignum)
ใช้สารเคมี
ใช่สารเคมีแบบให้ซึมผ่านเข้าเนื้อไม้ตามธรรมชาติ
ใช้ยาป้องกันและรักษาเนื้อไม้
ใช้สารเคมีแบบใช้ความดัน
คุณสมบัติในการใช้งานไม้สำหรับงานก่อสร้าง
ความสวยงามทั้งลวดลายและสี
ตำนิดตามธรรมชาติ
กำลังแข็งแรง ทนทาน
ความทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศและต่อแมลง
ความยากง่ายต่อการทำงาน
การยืดหรือหดตัว
การทำไม้ทนไฟ
สารเคมีกันไฟที่ใช้อัดเข้าไปในเนื้อไม้หรือทาเคลือบ
อะลูมินัมซัลเฟต , กรดบอริกโซเดียมฟอสเฟต
แอมโมเนียมโบรไมด์ , แอมโมเนียมคลอไรด์
โครเมเตดซิ้งค์คลอไรด์ , มินาลิธ , โซเดียมซิลิเกต
ขั้นตอนการออกแบบ
เลือกวิธีการคำนวณอออกแบบโครงส้รางซึ่งในที่นี้ใช้วิธี ASD
เลือกชนิดของไม้ให้เหมาะสมกับการใช้งาน
ศึกษารูปตั้ง รูปตัด รูปแปลนชั้นต่างๆโดยละเอียดและรอบคอบ
ศึกษาประเภทของอาคารว่าเป็นอาคารประเภทไหน
วิเคราะห์โครงสร้างหาแรงและโมเมนต์ของโครงสร้างที่ต้องรับหรือต้านทานโดยต้องไม่ลืมน้ำหนักของส่วนโครงสร้างเอง
ออกแบบโครงสร้างส่วนต่างๆให้สามารถรับแรงและโมเมนต์ได้
ออกแบบรอยต่อต่างๆ และเขียนแบบแสดงรายละเอียดสำหรับนำไปคิดราคาและดำเนินการก่อสร้าง
นายสิปปกร พิริยะอนันตกุล 60365086