Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
การบริหารยาฉีด
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
วางแผนการพยาบาล
บริหารยาตามแผนการรักษาของแพทย์
ปฏิบัติการพยาบาล
ในขั้นการเตรียมอุปกรณ์ การเตรียมยาฉีด และการฉีดยาตามวิถีทางต่างๆ ตำมแผนการพยาบาลที่วางไว้
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เมื่อรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการประเมินสภาพทั้งหมดแล้ว
การประเมินผล
ควรมีกสรประเมินผู้ป่วยภายหลังจสกได้รับยาทุกครั้ง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้
การประเมินสภาพ
การบริหารยาฉีดให้กับผู้ป่วยพยาบาลควรมีการประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยา
ตำแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
ขั้นเตรียมการก่อนฉีดยา
ตรวจความพร้อมของเครื่องใช้
ถามชื่อ – สกุลของผู้ป่วย รวมถึงประวัติการแพ้ยา
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
เลือกบริเวณสำหรับฉีดยา ควรหลีกเลี่ยงการฉีดยาในบริเวณที่มีการอักเสบ
จัดท่าและเสื้อผ้าผู้ป่วย เปิดบริเวณที่จะฉีดยาให้กว้างพอ
ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือ
การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal injection)
เป็นการฉีดยาเข้าในชั้น dermis (ชั้นหนังแท้) เพื่อให้เกิดผลเฉพาะที่ ซึ่งส่วนมากเป็นการฉีดเพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรค
จะใช้กระบอกฉีดยา ชนิด tuberculin syringe วิธีการฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง มีดังนี้
ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาจนหมดก่อนฉีดยา
ผิวหนังให้ตึง
แทงเข็มทำมุม 5-15 องศา กับผิวหนัง โดยหงายปลายตัดเข็มขึ้น
ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นมา ถ้าไม่มีตุ่มนูน
ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยา
ใช้ปากกาลูกลื่นหมึกสีน้ำเงินหรือดำ
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง (Subcutaneous injection)
เป็นการฉีดยาเข้าในชั้น subcutaneous tissue ยาจะถูกดูดซึมได้ช้ากว่ากำรฉีดยาเข้ำชั้นกล้ามเนื้อ
กำรฉีดยาเข้ำชั้นใต้ผิวหนัง ให้ปฏิบัติดังนี้
ตำแหน่งสำหรับฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
ทำผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็ม หรือกำรใช้นิ้วมือจับรวบเนื้อเยื่อบริเวณที่จะฉีดเข้าหากัน แต่วิธีหลังนี้จะไม่ใช้ในการฉีด heparin
การแทงเข็มถ้ำใช้เข็มยาว 5/8 นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 45 องศา ถ้าใช้เข็มยาว ½นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 90 องศา
การฉีด heparin และ insulin ห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดยาแล้ว
การฉีด heparin ไม่ต้องทดสอบว่าปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ ยาจะถูกดูดซึมเร็วเพราะมีเลือดมาเลี้ยงมาก
การหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
วิธีหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน
วิธีหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสะโพก
วิธีหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ Vastus lateralis
การฉีดยา
เป็นการฉีดสารที่เป็นของเหลวเข้าไปในเนื้อเยื่อ หลอดเลือด หรือช่องในร่างกาย
เพื่อการรักษา การให้ภูมิคุ้มกันโรค
ทดสอบการแพ้ยาและสารบางชนิด
เพื่อการวินิจฉัยโรค
เป็นการให้ยาที่ได้ผลเร็ว แต่มีวิธีการที่ยุ่งยาก สิ้นเปลือง เสี่ยงต่ออันตราย
การฉีดยาโดยทั่วไปในการรักษาพยาบาล มี 4 วิธี
การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ (intramuscular injection)
การฉีดยาเข้าใต้ผิวหนัง (subcutaneous injection)
การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ (intravenous injection)
การฉีดยาเข้าผิวหนัง (intradermal injection)
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
การฉีดยาให้กับผู้ป่วยพยาบาลจะต้องทำการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ ไว้เพื่อให้ได้ยาที่ถูกชนิด
ให้ยาอยู่ในสภาพที่พร้อมและเหมาะสมสำหรับนำไปฉีดได้
การเตรียมยาฉีด จะต้องศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์ และวิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ รายละเอียดดังนี้
อุปกรณ์สาหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
ยาฉีด (Medication) ยาสำหรับฉีดจะบรรจุอยู่ในภาชนะบรรจุที่เป็นหลอด
ยาที่บรรจุในหลอดจะเป็นยาน้ำซึ่งใช้ฉีดครั้งเดียว
ถ้าใช้ไม่หมดต้องทิ้งไป เพราะเมื่อหลอดยาถูกหักแล้วจะไม่สามารถรักษาให้อยู่ในสภาพปราศจากเชื้อได้
ยาที่บรรจุในขวดจะมีทั้งชนิดที่เป็นผงและยาน้ำ
มีทั้งแบบ single dose และmultiple dose ยำที่เป็นผงจะมีความคงตัวต่ำ
กระบอกฉีดยา (Syringe) กระบอกฉีดยามีหลายขนาดตั้งแต่ 0.5-50 ml ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ
กระบอก
ซึ่งมีปลาย (tip) ที่มีขนำดสวมได้พอดีกับหัวเข็มฉีดยา
ลูกสูบ
กระบอกฉีดยาจะมีทั้งชนิดที่ทำด้วยพลาสติกซึ่งใช้แล้วทิ้ง
เข็มฉีดยา ส่วนมากทำจาก stainless steel และเป็นชนิดใช้ครั้งเดียว ประกอบด้วย 3 ส่วน
หัวเข็ม (hub)
สามารถจับต้องได้ขณะทำให้หัวเข็มและปลายหลอดฉีดยายึดติดกัน
ตัวเข็ม (shaft)
ปลายเข็ม (bevelor slanted tip)
การเลือกเข็มฉีดยา ให้พิจารณาจากความลาดเอียงหรือความยาวของปลายปาด ความยาวของตัวเขมฉีดยา ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ดังต่อไปนี้
ทางที่ให้ยาเข้ำสู่ร่างกาย (route of administration)
ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อใช้
เข็มยาวกว่าฉีดเข้ำชั้นใต้ผิวหนัง
ความหนืดของยา (viscosity of the solution)
ปริมาณของยาที่จะฉีด
ขนาดรูปร่างของผู้ป่วย
ชนิดของยา
ฉีดยาอินซูลิน ต้องใช้กระบอกฉีดยาสำหรับฉีดอินซูลินโดยเฉพาะ
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อจะต้องเลือกใช้เข็มที่ยาวกว่าการฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
นอกจากอุปกรณ์ที่กล่าวมาแล้วควรเตรียมอุปกรณ์เพิ่มเติมสำหรับการผสมยาฉีด
เมื่อเตรียมอุปกรณ์พร้อมแล้วก่อนการลงมือผสมยาฉีดตามแผนการรักษาผู้เตรียมควรปฏิบัติดังนี้
ซักถามประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย
อ่านและตรวจสอบรายละเอียดบนขวดยาหรือหลอดยาเกี่ยวกับชื่อยา
ศึกษาเกี่ยวกับขนาด
คำนวณปริมาณยาฉีดที่ผู้ป่วยควรได้รับอย่างถูกต้อง
ดูแลบริเวณสำหรับเตรียมยาให้สะอาด แห้ง มีแสงสว่างเพียงพอ
ตรวจดูความพร้อมของเครื่องมือเครื่องใช้
ล้างมือให้สะอาด เช็ดมือ
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุหลอด (Ampule)
ทำความสะอาดรอบคอหลอดยา
เลื่อยรอบคอหลอดยาพอเป็นรอย
เช็ดรอบคอหลอดยาด้วยสำลีชุบ alcohol
คลีาสำลีชุบalcoholหรือ gauze ที่ผ่านการฆ่าเชื้อโรคแล้วหุ้มรอบบริเวณคอหลอดยาเพื่อป้องกันหลอดยาที่หักปลายแล้วบาดนิ้วมือ
ฉีกซองกระบอกฉีดยาโดยระวังมิให้เกิดการปนเปื้อน
สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่นพอประมาณ
ถอดปลอกเข็มออก จับหลอดยาด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด
เอียงหลอดยาให้ปลายตัดเข็มจุ่มในน้ำยา ดูดยาตามจำนวนที่ต้องการ
ตรวจสอบชื่อยาบนหลอดยาอีกครั้งหนึ่งก่อนทิ้งหลอดยา
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด (Vial)
เขย่าขวดยาเบา ๆ ให้ยาเข้ากัน
ทำความสะอาดจุกขวดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70% โดยวิธีหมุนจากจุดที่แทงเข็มวนออกด้านนอกจนถึงคอขวดยา
ฉีกซองห่อกระบอกฉีดยำโดยระวังมิให้เกิดการปนเปื้อน
สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่นพอประมำณ
ถอดปลอกเข็มออก ดูดอากาศเข้ากระบอกฉีดยาเท่าปริมำณยาที่ต้องการ
แทงเข็มเข้าจุกยางใช้นิ้วหัวแม่มือดันลูกสูบให้อากาศเข้าขวดยาจนหมด
คว่ำขวดยำลง โดยให้นิ้วดันลูกสูบอยู่ ปรับให้ปลายตัดเข็มอยู่ในน้ำยา
ค่อย ๆ ปล่อยนิ้วที่ดันลูกสูบออก น้ำยาจากขวดจะไหลเข้ามาในกระบอกฉีดยา
ตรวจสอบชื่อยาบนขวดยาอีกครั้งหนึ่ง
เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด
หากเตรียมยาสำหรับฉีดผู้ป่วยหลายคน หรือหลายชนิดพร้อมกัน ควรวางกระบอกฉีดยา
การคำนวณขนาดยา
การบริหารยาฉีดประกอบด้วย 2 ขั้นตอน
ขั้นตอนการเตรียมยา
ขั้นตอนการฉีดยา