Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เนื้อเยื่อพืช (plant tissue) - Coggle Diagram
เนื้อเยื่อพืช (plant tissue)
ความสามารถในการแบ่งเซลล์
เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissue)
แบ่งตามหน้าที่ได้ 3 ระบบ
ระบบเนื้อเยื่อพื้น (ground tissue system)
เป็นเนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว เพราะประกอบด้วยเซลล์ชนิดเดียว
คอลลงคิมา (collenchyma)
พบบริเวณถัดจากเอพิเดอร์มิสของลำต้นที่ยังอ่อน ประกอบด้วยเซลล์ที่มีชีวิต เซลล์คอลเลงคิมา ผนังเซลล์ปฐมภูมิหนาไม่สม่ำเสมอกัน ทำให้เกิดความแข็งแรงแก่โครงสร้างพืช
เสกอเรงคิมา (sclenchyma)
พบในเนื้อเยื่อของลำต้น ผล เปลือกไม้ เปลือกผล เปลือกเมล็ด ประกอบด้วยเซลล์สเกอเรงคิมา เป็นเซลล์ไม่มีชีวิต ผนังเซลล์ทุติยภูมิค่อนข้างหนา
ทำให้เกิดความแข็งแรงแก่โครงสร้างพืช ประกอบด้วยเซลล์สองชนิด
สเกอรีด (sclereid)
เซลล์เส้นใยหรือไฟเบอร์ (fiber)
พาเรงคิมา (parenchyma)
ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมา พบได้ทั่วไปในส่วนต่าง ๆ ของพืช ส่วนใหญ่พบเฉพา่ะผนังเซลล์ปฐมภูมิที่บางสม่ำเสมอกันทั้งเซลล์
ระบบเนื้อเยื่อท่อลำเลียง (vascular tissue system)
เป็นเนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน เพราะประกอบด้วยเซลล์ 2 ชนิดขึ้นไป
ไซเลม (xylem)
ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำ และแร่ธาตุจากรากไปยังส่วน่าง ๆ ของพืช ประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด
เวสเซลล์เมมเบอร์ เทรคีด เซล์พาเรงคิมา และไฟเบอร์
ทรคีดและเวสเซลล์เมมเบอร์ ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำ และแร่ธาตุ เป็นเซลล์ที่ไม่มีชีวิต มีการสร้างผนังเซลล์ที่ไม่สม่ำเสมอเกิดเป็นลวดลายต่าง ๆ ด้านหัวและท้ายเซลล์มีช่องเป็นรูเรียก เพอร์ฟอเรชันเพลต
โฟลเอ็ม (phloem)
ทำหน้าที่ลำเลียงอาหาร ที่สังเคราะห์ากใบไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืชประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด
ซีพทิวป์เมมเบอร์ เซลล์คอมพาเนียน เซลล์พาเรงคิมา และไฟเบอร์
เป็นเซลล์ที่มีชีวิตมีผนังเซลล์ปฐมภูมิบางและมีรูเล็ก ๆ ผนังด้านหัวและด้านท้ายมีลักษณะเป็นตะแกรงหรือซีฟเฟล็ต
1 more item...
ระบบเนื้อเยื่อผิว (dermal tissue system)
ทำหน้าที่ป้องกันเนื้อเยื่อด้านในของพืช และเพริเดิร์ม
เอพิเดอร์มิส (epidermis)
เป็นเนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน เพราะประกอบด้วยเซลล์หลายชนิด
เซลล์ผิว (epidermal cell)
มีชั้นคิวทิเคิล ที่มีสารคิวทิน เคลือบผิวลดการระเหยน้ำ
เซลล์คุม (guard cell)
เซลล์รูปร่างคล้ายไต หรือเม็ดถั่วแดงมีรูตรงกลางเรียกรูปากใบ ภายในเซลล์คุมมีคลอโรพลาส เรียกรูปากใบและเซลล์คุมว่า ปากใบ
เซลล์ขนราก (root hair cell)
เซลล์มีความยาวกว่าความกว้างหลายเท่าเพื่อเพิ่มพื้นผิวในการดูดน้ำและธาตุอาหาร ส่วนที่ยื่นออกไปไม่มีคิวทินเคลือบจึงขาดหรือหลุดง่าย
ความสามารถในการแบ่งเซลล์
เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissue)
แบ่งตามตำแหน่งที่อยู่
เนื้อเยื่อเจริญข้าง (lateral meristem)
แบ่งตามการทำหน้าที่
วาสคิวลาร์แคมเบียม (vascular cambium)
เนื้อเยื่อท่อลำเลียง พบอยู่ระหว่าง ท่อลำลเียงน้ำและท่อลำเลียงอาหาร
อยู่ด้านใน
คอร์กแคมเบียม (cork cambium)
ทำหน้าที่เเบ่งเซลล์ให้คอร์กคอร์กแคมเบียมพบถัดจากคอร์กเข้าไปด้านใน อยู่ด้านนอก
อยู่ในแนวขนานกับเส้นรอบวง ทำให้ราก ลำต้นขยายใหญ่ขึ้น เป็นการเจริญเติบโตทุติยภูมิ การเจริญเติบโตตามแกน X
เรียกอีกอย่างว่า คอร์ก
เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem)
มีหน้าที่แบ่งเซลล์เพิ่มจำนวนข้อ ปล้อง เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่บนข้อปล้อง ทำให้ข้ปล้องยืดยาว
พบในลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น ข้าว อ้อย ข้าวโพด หญ้า เป็นต้น
เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (apical meristem)
พบได้ 2 บริเวณ แบ่งตามตำแหน่ง
เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด (apical shoot meristem)
พบได้ที่ปลายยอด ทำให้ลำต้นสูงขึ้น กิ่งยาวขึ้น
เนื้อเยื่อเจริญปลายราก (apical root meristem)
พบได้ที่ราก ทำให้รากยาวขึ้น
ทำหน้าที่แบ่งเซลล์ทำให้ลำต้น กิ่ง และใบยาวขึ้น เป็นการเจริญเติบโตปฐมภูมิ การเจริญเติบโตตามแกน Y
ประกอบด้วยเซลล์เจริญ มีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส เพิ่มจำนวนได้ตลอดชีวิตของเซล์