Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพ ตามความเชื่อทางศาสนา (ศาสนาอิสลาม) -…
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพ
ตามความเชื่อทางศาสนา
(ศาสนาอิสลาม)
หลักการอันเป็นข้อบังคับ
หลักศรัทธา ความเชื่อในศาสนา
ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐาน ต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจ้า
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต
ศรัทธาในพระคัมภี์อัลกุรอานและคัมภีร์อื่นๆ
ศรัทธาในวันกียามะฮ์
ศรัทธาในลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา (อิบาดะห์)
การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
การละหมาด/สวด
การถือศิลอด
การบริจาคศาสนทานชะกาต
การประกอบพิธีฮัจญ์
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
เป็นหลักเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรม
ที่มุสลิมทุกคนจะต้อยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
ฮาลาล = การกระทำที่อนุญาต
ฮารอม = การกระทำที่ต้องห้าม
การแต่งกาย
ชาย ปิดระหว่างสะดือกับหัวเข่า
หญิง ให้ปิดทั้งร่างกาย
ทุกคนต้องเรียนรู้หลักการของศาสนาอิสลาม ไม่มีข้อยกเว้นเป็นหน้าที่พึงปฏิบัติ
ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
ห้ามทำแท้ง หากจำเป็นเฉพาะกรณีรักษาชีวิตของแม่เท่านั้น
การขลิบอวัยวะเพศชายเป็นเรื่องที่แนะนำให้ปฏิบัติ
การช่วให้ฆ่าตัวตาย/การุณฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
การช่วยผู้ป่วยระยะสุดท้ายโดยการใส่เครื่องช่วยหายใจในขณะที่ผู้ป่วยเป็นผัก ไม่สนับสนุน
การผ่าศพชันสูตรเป็นสิ่งต้องห้าม
หลังคลอดจะขอมีการรกนำไปฝัง
การให้บริการทางการแพทย์
จำกัดการสบตา ไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มีการปกคลุมร่างกายหากต้องการ ตรวจควรมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปกปิดร่างกายได้ท้ั่ว หากไรไม่สามารถจัดหาให้ได้ควรจะอนุญาตให้ใส่เ่สื้อผ้าของตนเองได้
มุสลิมไม่ได้ห้ามการได้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
การดูแลเรื่องอาหาร
อาหารฮาลาล ไม่มีหมู
การอดอาหารจะมีปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอน
ยกเว้นผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
มุสลิมจะล้างมือก่อน/หลังรับประทานอาหาร ควรมีการจัดเตรียมสถานที่
มุสลิมจะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่ม
ในการรับประทาน
การดูแลทางจิตวิญญาณ
จัดสถานที่ละหมาด
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทำพิธี หรือจัดทำอ่างน้ำสำหรับอาบเพื่อทำการสวดทางศาสนา
การสวดมนต์จะทำวันละ 5 ครั้ง
ผู้มีข้อจำกัดทางด้านสติปัญญา ผู้หญิงหลังคลอด
และผู้ที่มีประจำเดือนจะเป็นข้อยกเว้น
ควรเอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่น
ออกจากห้องผู้ป่วย
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
เป็นการดูแลรักษาเต็มที่ด้วยความรัก ความเมตตา
เพื่อลดความทุกข์ทรมานและเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ยังเหลืออยู่
เป้าหมาย
ลดความเจ็บปวดและอาการไม่สบายต่างๆ
ยอมรับเรื่องการมีชีวิตและการตายตามบริบทศาสนาและวัฒนธรรม
บูรณาการมิติทางสังคม จิตใจ และจิตวิญญาณ
ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือญาติ
มีการทำงานเป็นทีมเพื่อการดูแลผู้ป่วยและญาติอย่างมีคุณภาพ
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชาวมุสลิม
มุสลิมต้องยอมรับการเจ็บป่วย ว่าเป็นสิ่งที่พระอัลลอฮ์กำหนดมาให้และต้องแสวงหาวิธีรักษา
ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วย การเจ็บป่วยย่อมได้รับการลดบาปและได้กุศล
ผู้ป่วยต้องเอามือของตนวางบนส่วนที่เจ็บแล้วให้ละหมาด
การขอพรจากพระอัลลอฮ์
การส่งเสริมกำลังใจ ตักเตือนให้เขาระลึกถึงความอดทน ทำให้รู้สึกอบอุ่น และเชื่อมั้นว่าจะหาป่วย