Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ - Coggle Diagram
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
พระพุทธศาสนามุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์ สอนให้รู้จักทุกข์และวิธีการดับทุกข์ อันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์จากกิเลสทั้งปวง คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง
และสัตว์โลกที่เป็นไปตามกฎแห่งกรรม แล้วเลือกใช้หลักธรรมในพุทธศาสนาที่เหมาะกับผลที่จะได้สิ่งที่ปรารถนาอย่างถูกต้อง ด้วยความไม่ประมาทในชีวิตให้มีความสุขในทั้งชาตินี้ ชาติต่อๆ ไป
หลักคำสอนในพุทธศาสนา
ศาสนา
ข้อผู้พันระหว่างชีวิตมนุษย์กับความจริงสูงสุดที่มนุษย์เชื่อเรื่องสำคัญในศาสนา 3 ประการ
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคำสอน
แก่นหรือสาระสำคัญของคำสอน
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติ เพื่อนำชีวิตไปตามแนวทางที่ประเสริฐ
หลักปฏิบัติจริยธรรม
เป็นหลักคำสอนสำคัญของศาสนา
โอวาทปาติโมกข์ คือ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง การบำเพ็ญแต่ความดี การทำจิตให้สะอาดบริสุทธิ์
ศีล 5
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
ศาสนาพุทธ กล่าวถึงความจริงสูงสุด
กฏไตรลักษณ์ (The Three Characteristics of Existence)
อริยสัจ (The Four Noble Truths)
ปฏิจจสมุปบาท (The Law of Cause and Effect)
นิพพาน (Nirvana)
กฏไตรลักษณ์
อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
ทุกขัง คือ ความทุกข์ ถูกบีบคั้น ไม่สมอยาก ตั้งอยู่ไม่ได้
อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อริยสัจ
เป็นเหตุและผลของการเกิดแห่งทุกข์และวิธีการดับทุกข์ คือการไปสู่นิพพาน
ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิต ในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์ ใช้ในการปฏิบัติเพื่อการดับไปแห่งทุกข์
นิพพาน
ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
ความคลายกำหนัด กำจัดความเมา ความกระหาย ก่อนเสียชื่อ ความอาลัย
อายตนะ ในอายตนะไม่มีไป-มา ไม่มีตั้งอยู่ ไม่มีเกิด-ตาย เป็นอสังขตะ คือ ที่สิ้นสุดแห่งทุกข์
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
ผู้ให้การดูแล/พยาบาล/รักษา เข้าใจผู้ป่วยอยู่ในความทุกข์
ทุกข์ จาก อาการของโรค ความวิตกกังวล ภาวะเศรษฐกิจ
การปฏิบัติหน้าที่ในการดูแล เพื่อการบรรเทา/ดับทุกข์ ตามความสามารถและความเหมาะสม ผู้ป่วยต้องเข้าใจเรื่อง ความทุกข์ด้วยว่ามนุษย์ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิด แก่ เจ็บ ตายได้
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
การดูแลรักษาด้านสังคม
การนำผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 1
ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ตามความเชื่อและความศรัทธาของผู้ที่นิยมบริโภคอาหารเจ กล่าวว่า “กินผักกินไม้หยุดทำลายชีวิตสัตว์”
ความสะดวกสบายในการเข้าถึงแหล่งอาหารก็มีมากขึ้นโดยเฉพาะอาหารโปรตีนที่มาจากสัตว์
ทำให้ความสามารถในการผลิตมากขึ้นให้เพียงพอกับผู้บริโภค
การใช้ยาปฏิชีวินะในสัตว์ก้มากขึ้นเพื่อรักษาสัตว์ป่วยหรือป้องกันสัตว์ป่วย ดังนั้นการมีสารตกค้างก็ยังพบในสัตว์เนื้อแดงที่ผิดปกติ
การได้รับสารเคมีที่เป็นพิษต่อร่างกาย อาจเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งชนิดต่าง ๆ ได้ เช่น มะเร็งเต้านม มะเร็งกระเพาะอาหาร เป็นต้น
ศีลข้อ 2
อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ข้อปฏิบัติ คือ การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน
ส่งผลให้เกิดความเครียด ความอิจฉาริษยา ความเคียดก่อให้เกิดการเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
อาจถึงขั้นร้ายแรง คือ ต้องรับโทษทางกฎหมาย หรือเครียดจนเกิดโรคทางจิตเวช โอกาสเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสำเร็จในที่สุด
ศีลข้อ 3
กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
สาเหตุของการเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์ที่ยังเป็นปัญหาสุขภาพของทั่วโลก คือ การติดเชื้อเอชไอวี และกลายเป็นผู้ป่วยเอดส์เสียชีวิตในที่สุด
กลยุทธ์ของการรณรงค์ผู้ติดเชื้อรายใหม่ใชวิธีการประชาสัมพันธ์ “รักเดียวใจเดียวไม่เกี่ยวข้องเอดส์”
ผู้ที่ประพฤติผิดศีธรรมในกาม หมายถึง ผู้ที่รักร่วมเพศ รักเพศเดียวกั
ศีลข้อ 4
มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
การโกหก พูดไม่จริง เป็นสิ่งที่ทำให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง
ตัวอย่าง ตนเป็นผู้ติดเชื้อแล้วไม่แจ้งความจริงกับภรรยาของตนเอง ทำให้ภรรยานนั้นไม่ได้ป้องกัน
กว่าจะทราบความจริงก็เป็นผู้ป่วยเอดส์เสียแล้ว นอกจากส่งผลด้านร่างกาย ด้ายจิตใจ และส่งผลต่อครอบครัว
ศีลข้อ 5
สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
ศีลข้อนี้เมื่อดื่มสุรา เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอออล์ นอกจากมีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเองแล้ว เช่น อาจเกิดโรคมะเร็งตับ มะเร็งของท่อน้ำดี มะเร็งปอด
การเกิดโรคมะเร็งปอดที่มีสาเหตุมาจากการเป็นผู้สูบบุหรี่มือสอง คือ การได้รับจากผู้สูบมือหนึ่งที่เป็นคนใกล้เคียง
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
กรรมอารมณ์
เวลาใกล้จะดับจิตอารมณ์อันนั้นแหละจะมาปรากฏทางด้านจิตใจของผู้ใกล้จะตาย
ถ้าอารมณ์ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปได้ ถ้าอารมณ์ไม่ดีเกิดขืนในเวลานั้นก็ไปไม่ดี
กรรมนิมิต
เครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทำไว้แล้ว
ในเวลาใกล้จะดับจิต จะมาปรากฏให้เห็นในเวลาเมื่อใกล้จะตายถ้านิมิตที่ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปดีถ้านิมิตรไม่ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปไม่ดี
คตินิมิต
เครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด
เห็นกระทะทองแดง เห็นเหว เห็นหอก เห็นดาบ นี้ หมายถึงอบายภูมิ
ถ้าจะไปเกิดเป็นมนุษย์ ต้องเห็นมารดา
ถ้าไปเกิดเป็นเทวดา ก็เห็นปราสาท เห็นวิมาน
ความตายตามแนวทางพุทธศาสนา
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอน
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ
การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่วยทุกข์ทรมาน
การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนาไม่ใช่ตายอย่างไร สภาพแบบไหน แต่อยู่ที่สภาพจิตก่อนตายว่าเป็นอย่างไร ให้ระลึกถึงสิ่งที่ดี
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
การให้ความรัก ความเข้าใจ ผู้ป่วยใกล้ตาย
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ แม้บางคนอาจไม่มีสิ่งค้างคาใจที่เป็นกุศล
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึง ให้เขายอมรับความตายเป็นศิลปะ
กล่าวคำอำลา หากเขาคิดว่าจะอยู่กับเราได้ไม่นาน ก็ควรกล่าวคำอำลา อาจพูดขอบคุณสิ่งดี ๆ
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ลดความทุกข์ทรมาน
ทำกิจวัตรสำคัญเท่าที่ทำได้
เป็นตัวของตัวเอง
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป
เป็นปุถุชนที่ยังมิได้สดับคือยังไม่มีการศึกษาก็ระลึกถึงความตายด้วยความหวาดหวั่นพรั่นกลัว เศร้าหดหู่ท้อแท้ ระย่อท้อถอย
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป
ติ สำหรับเตือนใจไม่ให้ประมาท เร่งขวนขวายปฏิบัติ ประกอบหน้าที่คุณงามความดีให้ชีวิตมีประโยชน์มีคุณค่า
ขั้นที่ 3 คือให้รู้เท่าทันความตาย
มีใจปลอดโปร่ง โล่ง สบายและเป็นอยู่ด้วยปัญญาที่กระทำไปตามเหตุผล ด้วยความรู้เท่าทันเหตุปัจจัย
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
การพยาบาลด้านร่างกาย
การเบื่ออาหารที่เกิดขึ้นจากผลการวิจัยพบว่าความเบื่ออาหารมีผลดีกว่าผลเสีย เพราะทำให้สารคีโตนในร่างกายเพิ่มขึ้นจะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบายขึ้นและบรรเทาอาการเจ็บปวดได้
การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
เมื่อคนป่วยหนักใกล้ตายยิ่งต้องการประคับประคองใจอย่างมาก สิ่งที่คนใกล้ตายกลัวมากที่สุดคือ การถูกทอดทิ้ง การอยู่อย่างโดดเดี่ยว และสิ่งที่ต้องการ คือมีความต้องการใครสักคนอยู่เป็นเพื่อนข้าง ๆ